วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1

วัตถุประสงค์ :
พัฒนาข้อเสนอและการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของประเทศไทย
ตัวชี้วัด
  • ข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของประเทศไทย
  • ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
  • ทีมทำงานที่เป็นพหุภาคี1 ทีม
  • ข้อมูล Mapping การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในประเทศไทย1 ชุดข้อมูล
  • Road Map การขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของประเทศไทย
  • ข้อเสนอเชิงนโยบายการส่งเสริมกิจกรรมทางกายนำไปสู่การปฏิบัติ
กิจกรรม
ชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 การประชุมทีมทำงานที่เป็นพหุภาคี 0.00 0 12 - 12 - more_vert
2 การจัดทำ Mapping 0.00 0 3 - 3 - more_vert
3 ทีมทำงานแต่ละประเด็นทำร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย(ร่าง1 ) 0.00 0 1 - 1 - more_vert
4 การพิจารณาร่างข้อเสนอ (ร่าง 1 ) โดยภาคีที่เกี่ยวข้อง 0.00 0 1 - 1 - more_vert
5 ทีมทำงานนำความเห็นของร่างที่ 1 กลับมาทบทวน 0.00 0 1 - 1 - more_vert
6 การพิจารณาข้อเสนอเชิงนโยบายร่างที่ 2 0.00 0 1 - 1 - more_vert
7 การผลักดันข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การปฏิบัติ 0.00 0 5 - 5 - more_vert
0.00 0 24 0.00 24 0.00

วัตถุประสงค์ ข้อที่ 2

วัตถุประสงค์ :
พัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ให้สอดคล้องกับข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของประเทศไทย ดังนี้ • โครงการที่เกี่ยวข้องกับส่งเสริมกิจกรรมทางกายตลอดช่วงวัย (Life – Course Approach) ครอบคลุมกลุ่มเด็กปฐมวัย (แรกเกิด - ๕ ปี) วัยเด็ก (๖ – ๑๔ ปี) วัยรุ่น (๑๕ - ๒๔ ปี) วัยทำงาน (๒๕ - ๕๙ ปี) และวัยสูงอายุ (๖๐ ปี ขึ้นไป) ทั้งในด้านพัฒนางานวิจัย องค์ความรู้ นวัตกรรม เครื่องมือวัดผล รณรงค์สื่อสาร และการผลักดันนโยบาย • โครงการที่เกี่ยวข้องกับการลดพฤติกรรมเนือยนิ่งในทุกกลุ่มวัยด้วยการสนับสนุนให้เกิดการเคลื่อนไหวระหว่างวัน ในรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุ่มวัย และอาชีพ • โครงการผลักดันให้เกิดต้นแบบพื้นที่สุขภาวะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย • โครงการที่เกี่ยวข้องกับการใช้จักรยานเพื่อสุขภาวะ • โครงการที่เกี่ยวข้องกับการวิ่งเพื่อสุขภาวะ
ตัวชี้วัด
  • ข้อเสนอโครงการที่ผ่านการสนับสนุนจากแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 100 โครงการ
  • กรอบในการพิจารณาสนับสนุนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายตลอดช่วงวัย (Life – Course Approach) (กลุ่มวัยเด็กเยาวชน วัยทำงานวัยสูงอายุ) การใช้จักรยานเพื่อสุขภาวะ และการวิ่งเพื่อสุขภาวะ
  • ระบบการพัฒนาและติดตามประเมินผลโครงการ Online ผ่านทาง Website
  • เกิดภาคีเครือข่ายกิจกรรมทางกาย (พี่เลี้ยง)
กิจกรรม
ชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 จัดทำกรอบในการพิจารณาสนับสนุนโครงการ 0.00 0 8 - 8 - more_vert
2 การพัฒนาระบบการพัฒนาและติดตามประเมินผลโครงการOnline 0.00 0 3 - 3 - more_vert
3 การสร้างทีมพี่เลี้ยง 0.00 0 2 - 2 - more_vert
4 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอโครงการ 0.00 0 12 - 12 - more_vert
5 การปรับปรุงข้อเสนอโครงการ โดยผู้เสนอโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง 0.00 0 6 - 6 - more_vert
6 การพิจารณาโครงการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 0.00 0 - - - - more_vert
0.00 0 31 0.00 31 0.00

วัตถุประสงค์ ข้อที่ 3

วัตถุประสงค์ :
วางระบบการติดตามประเมินผลโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด
  • ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
  • เอกสาร ชุดการสังเคราะห์ความรู้และประสบการณ์การขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  • การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานผู้รับทุนสามารถส่งผลการดำเนินงานได้ตามแผน
  • เกิดพื้นที่ต้นแบบด้านการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  • เกิดพื้นที่ต้นแบบด้านการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
กิจกรรม
ชื่อกิจกรรมหลักงบประมาณ
(บาท)
กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
กิจกรรม
(ครั้ง)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
(ครั้ง)
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 ปฐมนิเทศผู้รับทุนโครงการ 0.00 0 3 - 3 - more_vert
2 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานของผู้รับทุนในพื้นที่ 0.00 0 - - - - more_vert
3 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการสรุปภาพรวม 0.00 0 - - - - more_vert
4 การสังเคราะห์ความรู้และประสบการณ์ 0.00 0 - - - - more_vert
0.00 0 3 0.00 3 0.00