โครงการพัฒนาข้อเสนอและการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของประเทศไทย

ประชุมการวางแผนจัดทำ Mapping ทบทวนเอกสารการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย4 มกราคม 2017
4
มกราคม 2017รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วางแผนจัดทำ Mapping ทบทวนเอกสารการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รูปแบบการ Review PA ปัจจัยที่มีผล 1. คน : ความรู้/พฤติกรรม
2. สภาพแวดล้อม : วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ 3. กลไก : กลุ่ม / เครื่องมือ / ตัวชี้วัด

วิธีการ 1. งานวิจัย
2. องค์ความรู้
3. นวัตกรรม
4. เครื่องมือ/วัดผล/ตัวชี้วัด
5. ระบบการสื่อสาร
6. ผลักดันนโยบาย

เป้าหมายของ PA 1. กิจกรรมตลอดช่วงวัย - กลุ่มเด็กปฐมวัย (แรกเกิด - 5 ปี) - วัยเด็ก (6 – 14 ปี)
- วัยรุ่น (15 - 24 ปี)
- วัยทำงาน (25 - 59 ปี)
- วัยสูงอายุ (60 ปี ขึ้นไป)
2. กลุ่มอาชีพ
3. พื้นที่ต้นแบบ: ท้องถิ่น/สำนักงาน 4. จักรยาน 5. วิ่ง
6. พฤติกรรมเนือยนิ่ง

  • Stakeholder Analysis
  • โรงเรียน (สพฐ.) : อนุบาล / ประถม / มัธยม / อุดมศึกษา
  1. หลักสูตร > Active Leaning > สุขภาวะ
  2. กิจกรรมหลักสูตร > ฝึกอาชีพ
  3. ประกวดรูปแบบ/กิจกรรม/นวัตกรรม PA
    ยกระดับ PA เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
  • ท้องถิ่นสามารถแบ่งขนาด ได้แก่ ใหญ่ กลาง เล็ก

 PA / พฤติกรรมสุขภาพ  อนุรักษ์วัฒนธรรม / การรำ / นวดแผนไทย  เกษตร / อาหารปลอดภัย
 สันติภาพ / ลดความขัดแย้ง
 ลดปัญหายาเสพติด
 การสร้างกระแส