โครงการพัฒนาข้อเสนอและการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของประเทศไทย

ประชุมหารือยุทธศาสตร์กิจกรรมทางกาย กับ PARC และ สำนัก 5 14 กุมภาพันธ์ 2017
14
กุมภาพันธ์ 2017รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำกรอบในการพิจารณาสนับสนุนโครงการของภาคี เครือข่ายต่างๆ ตามประเภทโครงการดังกล่าวข้างต้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประเด็นโจทย์วิจัยแต่ละช่วงวัย
- ได้ประเด็นโจทย์แต่ละช่วงวัย
1. วัยแรกเกิด 0-5 ปี : PA มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการของเด็กอย่างไร (ศูนย์เด็กเล็ก)
2. วัยเรียน : PA เบรก ของการเรียนการสอนตั้งแต่ ปฐมวัย, มัธยม, มหาวิทยาลัย , เด็กเป็นตัวเชื่อมรูปแบบ PA ความสัมพันธ์ โรงเรียน ครอบครัวและชุมชน
3. วัยรุ่น : PA กับพฤติกรรมของวัยรุ่นลดปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่
4. วัยทำงาน : วัยทำงานแบ่งระดับมาก ปานกลาง น้อย - รูปแบบ PA ที่เหมาะสม
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดปัจจัยเสี่ยง - องค์กรต้นแบบด้านต่างๆ เช่น PA กับพลังงานทดแทน เป็นต้น
5. ผู้สูงอายุ : ระบบบริการเหมาะสมผู้สูงอายุ PA ในระบบประกันสุขภาพ
6. จักยาน : ปั่นชีวิตประจำวัน, ปั่นออกกำลังกาย, ปั่นเที่ยว
- การออกแบบเมืองที่เหมาะสม
- การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ
- จักรยานเพื่อสร้างสรรค์สังคม
7. วิ่ง
- รวมพลังเครือข่ายวิ่งพลังสังคม
- ระบบข้อมูล
- มาตราการส่งเสริมการวิ่ง
อื่นๆ : - การวางระบบเก็บข้อมูลโครงสร้างปกติ / PA กับวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ควบคู่กับการอนุรักษ์ เช่น มโนราห์ มวยจีน เป็นต้น - PA เชื่อมโยงกับปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ / พลังงาน / ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

โจทย์วิจัย 1. โจทย์ใหญ่ 2 โจทย์ คือ การระบุพื้นที่ PA ต่ำ ในระดับภูมิภาค และพัฒนาให้ดีขึ้น
2. การปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อ: การใช้พื้นที่ให้คุ้มค่า
3. การขยายหลักสูตร คู่มือ PA ไปยังโรงเรียนต่างๆ
ติดอาวุธการประเมิน “เครื่องมือการประเมิน” ยุทธศาสตร์การใช้เครื่องมือ

ประเด็นศาสนากับ PA
- PA ในศาสนา เช่น ศาสนาอิสลามการละหมาด 5 ครั้ง เป็นกิจกรรม PA - ศาสนาพุทธการนั่งสมาธิ การเดินจงกลม / พระเดินธุดงค์ / งานวิจัย ม.เชียงใหม่ พระสายป่าเดินธุดงค์ ออกกำลังกาย/ พระเคี้ยวอาหาร 30 ครั้ง /ตอนบ่ายสวดมนต์ /ตอนเย็นพระกวาดวัด/เดินจงกลม

กิจกรรมทางกายของกลุ่มเด็ก
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กให้ความรู้ปรับทัศนคติ วัยเรียนอยู่กลางแจ้ง /เช่น จอมบึง ให้ป่าเป็นแหล่งเรียนรู้ เด็กๆจะเรียนรู้กิจกรรมในป่า / PA ไม่เน้นรายวิชา / ให้ PA ฝังอยู่ในทุกอนุ / ภายใน

“หลักสูตรโปรแกรม PA” และ “Report card”
หลักสูตรและคู่มือ :
1. โปรแกรมทางกายสาระพลศึกษาพื้นฐาน 2. โปรแกรมกิจกรรมทางกายสาระพลศึกษา
3. โปรแกรมกิจกรรมทางกายพัฒนาผู้เรียน
4. โปรแกรมกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวัน การวัด 1. ทักษะการเคลื่อนไหว
2. กาย
3. ความรู้
4. บุคลิกภาพ (สังคม/คุณธรรม)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

PARC และ สำนัก 5