โครงการพัฒนาข้อเสนอและการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของประเทศไทย

เวทีเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่าย สำหรับการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๖๐1 พฤศจิกายน 2017
1
พฤศจิกายน 2017รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๖.๐๐ – ๑๙.๐๐ เวลา ๑๖.๐๐ – ๑๖.๑๐ น. - กล่าวต้อนรับ และชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประชุม โดย นพ.ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร ประธานอนุกรรมการวิชาการ เวลา ๑๖.๑๐ – ๑๖.๓๐ น. - แนะนำกระบวนการและทำความเข้าใจสำหรับเวทีเตรียมความพร้อมกลุ่มเครือข่ายฯ โดย ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการวิชาการ เวลา ๑๖.๓๐ – ๑๘.๓๐ น. - เตรียมความพร้อมสำหรับการประชุมกลุ่มย่อยในแต่ละประเด็น(ช่วงเช้า) โดย คณะอนุกรรมการวิชาการ คณะทำงานวิชาการเฉพาะประเด็น - เตรียมความพร้อมสำหรับการประชุมกลุ่มย่อยในแต่ละกลุ่มเครือข่าย (ช่วงบ่าย)
โดย คณะอนุกรรมการพัฒนาการสร้างเสริมศักยภาพและจัดกลุ่มเครือข่าย เวลา ๑๘.๓๐ – ๑๙.๐๐ น. - สรุปและปิดการประชุม

วันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๓๐ เวลา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน / รับเอกสาร เวลา ๐๙.๐๐–๐๙.๐๕ น. กล่าวทักทายต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม โดย นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ประธาน คจ.สช. เวลา ๐๙.๐๕ – ๐๙.๑๕ น. กระบวนการสมัชชาสุขภาพแห่งชาติและการขับเคลื่อน   โดย นพ.พลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เวลา ๐๙.๑๕ – ๐๙.๓๐ น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการประชุม
โดย นพ.ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร ประธานอนุกรรมการวิชาการ เวลา ๐๙.๓๐ – ๐๙.๔๐ น. พักรับประทานอาหารว่าง เวลา ๐๙.๔๐– ๑๒.๐๐ น. แบ่งกลุ่มย่อยเพื่อแลกเปลี่ยนและสร้างความเข้าใจต่อระเบียบวาระสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ดังนี้ ห้องประชุมวายุภักษ์ ๕ - การส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น ห้องประชุมวายุภักษ์ ๖ - ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ห้องประชุมวายุภักษ์ ๗ - การพัฒนาพื้นที่เล่นสร้างเสริมสุขภาวะของเด็กปฐมวัยและวัยประถมศึกษา ห้องประชุม...................... - การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน โดย คณะอนุกรรมการวิชาการ และคณะทำงานวิชาการเฉพาะประเด็น เวลา ๑๒.๐๐–๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. แบ่งกลุ่มย่อยเพื่อแลกเปลี่ยนเพื่อหาท่าทีของกลุ่มเครือข่าย และเตรียมแผนการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นต่อร่างเอกสารประกอบระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ดังนี้ ห้องประชุมวายุภักษ์ ๕ - กลุ่มเครือข่ายภาคประชาสังคม ชุมชนและเอกชน (MS) ห้องประชุมวายุภักษ์ ๖ - กลุ่มเครือข่ายภาควิชาการ วิชาชีพ (MK) และ - กลุ่มเครือข่ายเฉพาะประเด็น (MI) ห้องประชุมวายุภักษ์ ๗ - กลุ่มเครือข่ายภาคราชการ การเมือง (MP) โดย คณะอนุกรรมการพัฒนาการสร้างเสริมศักยภาพและจัดกลุ่มเครือข่าย ห้องประชุม...................... การเตรียมแผนการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นต่อเอกสารร่างระเบียบวาระการประชุมฯ (ร่างที่ ๒)และการแลกเปลี่ยนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ของกลุ่มเครือข่ายพื้นที่ โดย คณะอนุกรรมการพัฒนาการสร้างเสริมศักยภาพและจัดกลุ่มเครือข่าย และทีมงานขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บันทึกสาระสำคัญการประชุมเตรียมความพร้อมเวทีสมัชชา
ประเด็นการส่งเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 2 พ.ย. 2560
ณ ห้องประชุมวายุภักดิ์ 5 ศูนย์ราชการ จังหวัดนนทบุรี

เริ่มประชุมเวลา 10.30 น
อ.พงค์เทพ: แนะนำ และชี้แจงคณะทำงาน พัฒนาประเด็นกิจกรรมทางกาย
อ.เกษม นครเขตต์ : กิจกรรมทางกาย ไม่ใช่การออกกำลังกาย ๆ เป็นส่วนหกนึ่งของกิจกรรมมทางกาย วัตถุประสงค์ PA เป็น สาเหตุ 1 /4 ของสาเหตุ ของ NCDs อ้วน  การเกิดภาวะเนือยนิ่ง ควรมีกิจกรรมทางกายทุกวั น ผส.ทุกวัน ๆ

องค์ประกอบ PA 1 กิจกรรมทางกาย เกิดจากการทำงาน อาชีพในชิวิตประจำวัน 2 PA จากการเดินทาง >เดินเท้า ปั่นจักรยาน
3 PA จากการออกกำลังกาย เกิดจากกิจกรรมนันทนาการในชีวิตประจำวัน

อ.กุลทัต : แต่ละปี มีคนทั่วโลก 36 ล้านคน ตายจาก โรคเบาหวาน ความดัน หัวใจและหลอดเลือด และมะเร็ง
การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นสาเหตุการตาย สูงกว่า การสูบบุหรี่ อัตราการมีกิจกรรมทางกาของแต่ละช่วงวัย
1.Q/A เอกสารหลัก PA จากเวที Pre assembly Q : K ไชยสิทธิ์ ตัวเลขสถิติ ของคนที่ไม่มี PA ประมาณ 20 ล้าน คน ต้องใช้เวลาเท่าไหร่จึงจะบรรลุเป้าหมาย 80 %
A: อ.พงค์เทพเป้าหมาย ปี 2563 ในการบรรลุเป้าหมายการมี PA ให้ครบ 80% อ.พงค์เทพ อาจมีการเพิ่มประเด็นเป้าหมายในการร่างข้อเสนอ

Q 2 :คุณกาญจนา สถานการณ์ PA จากการนำเสนอ ลดลงในปี 2559 ในเอกสารอยู่ส่วนไหน A: อยู่ในเอกสาร หน้าที่ 1 อ.เกษม ชี้แจงที่มาได้สำรวจตามนิยาม ของการทำกิจกรรมทางกาย ตั้งแต่ปี 2555 ปี 58 มี bike for mom เพิ่มขึ้น ปี59 ลดลง

Q 3:อนุพันธ์ เพิ่มนิยามการเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ตามกลุ่มเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน ผส.และแบ่งตามระดับ เพื่ออธิบายว่าแต่ละกลุ่ม A :นิยาม เป็น general ในเนื้อหามีอยู่แล้ว ถ้าจะเข้าสมัชชา ให้เสนอว่า ให้แก้ นิยาม แต่วันนี้ให้มาทำความเข้าใจเอกสาร ไม่มีการแก้อีกแล้ว

Q4: ศรันยา เอกสารบรรทัด30-34 มีกิจกรรมปานกลางถึงมาก 60 นาทีต่อวัน เป็นต่อเนื่อง หรือเอาเวลารวม อาจวงเล็บไม่ต้องต่อเนื่อง A :ไม่ต่อเนื่อง ๆ คือ 10 นาที (ครั้งละ 10 นาที 6 ครั้ง หรือ 20 นาที 3 ครั้ง)

Q5 :ประดิษฐ์ ความหนัก ความเบาคำนวณจากไหน
A เกษม :เพื่อให้เกณฑ์ง่าย ๆ เอาจากการพูดคุย ได้ขณะ ทำกิจกรรม PA

Q6 :สปสช กิจกรรมทางกายที่ ใช้อัตราการเต้นของหัวใจ ควรใช้ remark ไว้ด้วยในแต่ละช่วงวัย ควรเพิ่ม เช่น อย่านั่งเดิน สักเท่าไหร่ ? ย่อหน้า 2-3 ควรเขียนให้เข้าใจ  เช่น เพิ่มเติมข้อเสนอแนะแต่ละวัยให้ชัด
Q7 นศ.เพศ อัตราพฤติกรรมทางกาย ในวัยรุ่นต่ำ ให้ใส่ definition ภาวะเนือยนิ่ง ให้ใส่รายละเอียดในวัยรุ่น

2.Q/A เอกสารหลัก PA รูปธรรมการดำเนินงาน PA

3.Q/A เอกสารร่างมิติPA รูปธรรมการดำเนินงาน PA Q1 :ข้อเสนอเขียนให้ กระทรวง ทบวง ต่าง ๆ ทำ แต่ ไม่ได้เขียนในเชิงกระตุ้น
Q2: อ.ธงชัย สอบถามเรื่องเอกสาร สีชมพู A :เอกสารสำหรับใช้ดำเนินงานในพื้นที่

Q2 เข้าใจในเนื้อหา slideสามารถนำไปใช้ต่อได้หรือไม่ A ให้ upload ในweb

Q3 ในร่างมติหน้า 2 ข้อ 1.2 ……เนื่องจากมีเครืองมืออื่น ๆ ด้วยเช่นธรรมนูญ CHIA เพิ่มและเครื่องมืออื่น ๆ
Q: บรรทัดที่ 22 อธิบาย ข้อ3.2 การจัดสรรและจัดการพื้นที่ครอบครอง….ของเพิ่มเติมให้ชัด

A: การให้คนที่มีพื้นที่เปิดโอกาสให้คนไปใช้เพื่อ PA มากขึ้น เช่นที่ของการรถไฟ อบต. บริษัท
Q/A road map ปกติจะไม่ใช้พิจารณาในสมัชชาชาติ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1,000 คน จากที่ตั้งไว้ 1,000 คน
ประกอบด้วย

เครือข่ายสมัชชาจังหวัด นักวิชาการ ภาคีเครือข่ายกิจกรรมทางกาย