แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน


โครงการขยายผลพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคง ยั่งยืน พ.ศ. 2561


บ้าน บูเกะกือจิ หมู่ที่ 12 ตำบล บูกิต อำเภอ เจาะไอร้อง จังหวัด นราธิวาส

คำนำ

คำนำ การจัดทำแผนหมู่บ้าน/ชุมชนหรือแผนแม่บทหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้านและชุมชน โดยเริ่มจากการกระตุ้นจิตสำนึก และความรับผิดชอบของประชาชนในชุมชน ให้มีจิตสาธารณะ แล้วร่วมกันคิด ร่วมกันจัดหา ร่วมกันเรียนรู้/วิเคราะห์ เพื่อให้รู้และเข้าใจตนเองโดยใช้กระบวนการชุมชน คือการสำรวจปัญหาและศักยภาพของชุมชน การวิเคราะห์สาเหตุ/แนวทางการแก้ไข แล้วกำหนดอนาคตและทิศทางการพัฒนาตนเอง/หมู่บ้านและชุมชนในลักษณะจากชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชนซึ้งเป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็ง และพึ่งตนเองอย่างยั่งยืนของชุมชน แผนชุมชนบ้านบูเกะกือจิ ได้จัดทำโดยคณะกรรมการหมู่บ้านและชุมชน โดยได้รวบรวมข้อมูลของชุมชนด้านต่างๆ ตลอดจนสภาพปัญหาของชุมชน แล้วกำหนดทิศทางที่จะนำไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาชุมชนสู่อนาคตที่ชุมชนต้องการ ตลอดจนเป็นบทเรียนในการพัฒนาหมู่บ้านโดยภาพรวม ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนและให้การสนับสนุนของส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม

คณะกรรมการหมู่บ้าน ....................................
วัน.............เดือน...............................พ.ศ.............

สารบัญ

หน้า

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
1.1 วิสัยทัศน์
1.2 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
1.3 ข้อมูลอาณาเขตพื้นที่หมู่บ้าน
1.4 ข้อมูลประชากรในพื้นหมู่บ้าน
1.5 ข้อมูลการศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน
1.6 ข้อมูลด้านศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน
1.7 ข้อมูลเศรษฐกิจในพื้นที่หมู่บ้าน
1.8 ข้อมูลการท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่บ้าน
1.9 ข้อมูลการบริการขั้นพื้นฐานในพื้นที่หมู่บ้าน

ส่วนที่ 2 ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่หมู่บ้าน
2.1 สถานการณ์ในอดีตและปัจจุบันในหมู่บ้าน
2.2 จุดแข็งหรือทุนทางสังคมหรือของดีของหมู่บ้านที่สนับสนุนต่อการพัฒนาหมู่บ้าน
2.3 จุดอ่อนหรือปัญหาอุปสรรค์ต่อการพัฒนาหมู่บ้าน
2.4 แนวทางแก้ไขและพัฒนาหมู่บ้าน
2.5 โครงการสำคัญที่ผ่านมาที่ส่งผลต่อการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

ส่วนที่ 3 แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
3.1 แผนงาน/โครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ประจำปี 2561
- ด้านความมั่นคง
- ด้านการสร้างความเข้าใจ
- ด้านการพัฒนา

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1.1 วิสัยทัศน์
๑.๑วิสัยทัศน์ หลักยุทธศาสตร์ ๖ข้อ ๑ หลักศาสนานำนำหลักศาสนามาแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหายาเสพติด และปัญหาอื่นๆในหมู่บ้าน เป็นต้น๒ ส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมด้านการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนโดยจัดตั้ง และส่งเสริมศูนย์เรียนรู้ด้านการศึกษาในหมู่บ้าน ทั้งด้านศาสนา และสามัญ รวมทั้งด้านอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายได้แก่ครอบครัวอีกทางหนึ่ง๓ เน้นการปฏิบัติใช้การทำงานอย่างจริงจัง เข้าถึงประชาชนทุกภาคส่วนเน้นการสร้างทีมงานเป็นเครือข่ายประสานความร่วมมือร่วมกัน ๔ สร้างพลังความร่วมมือ เน้นการสร้างทีมงานเป็นเครือข่ายประสานความร่วมมือร่วมกัน ๕ นำหมู่บ้านสู่สันติสุขอย่างยั่งยืนส่งเสริมการพึ่งพาตนเอง และใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ๖ขจัดปัญหายาเสพติด โดยใช้นโยบายปราบปราม บำบัด และมาตรการป้องกันตั้งแต่เยาวร์วัย

1.2 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1) พิกัด
6.1791084598344,101.83068208415
แผนที่เดินดิน


2) ประวัติหมู่บ้าน

แต่เดิมนั้นก่อนที่ชาวบ้านจะมาตั้งถิ่นฐานหมู่บ้านแห่งนี้ ชาวบ้านได้อาศัยอยู่ที่ บ้านไอกียะ ซึ่งห่างจากหมู่บ้านนี้ประมาณ 5 กม. เวลาชาวบ้านจะหาอาหารหรือของป่า ชาวบ้านก็จะมาหาที่หมู่บ้านแห่งนี้ซึ่งเป็นภูเขาที่พร้อมด้วยทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ชาวบ้านเรียกภูเขาแห่งนี้ว่าบูเก๊ะกือจิซึ่งแปลว่าภูเขาเล็กๆนั้นเอง
“ บูเก๊ะกือจิ ” แปลว่า “ ภูเขาเล็ก ” แต่เดิมเป็นแหล่งอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์และสัตว์ป่า ชาวบ้านจากเจาะไอร้องและราบือซา ( บาตาปาเซ ) ได้เข้ามาหาสัตว์ป่าและอาหารที่เขาลูกนี้ และบุคคลกลุ่มแรกที่เข้ามา คือ นาย แซมา ซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านไอกียะและต่อมาจึงเกิดเป็นหมู่บ้านบ้านบูเก๊ะกือจิหมู่ที่ ๑๒ตำบลบูกิตอำเภอเจาะไอร้องจังหวัดนราธิวาสนี้ขึ้นมา



3) โครงสร้างคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.)/อพป.

ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน

หัวหน้าคณะทำงาน
ด้านอำนวยการ

หัวหน้าคณะทำงาน
ด้านการปกครองและรักษาความปลอดภัย

หัวหน้าคณะทำงาน
ด้านแผนพัฒนาหมู่บ้าน

หัวหน้าคณะทำงาน
ด้านส่งเสริมเศรษฐกิจ

หัวหน้าคณะทำงาน
ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสุข

หัวหน้าคณะทำงาน
ด้านศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หัวหน้าคณะทำงาน
ด้านอื่นๆ


4) ศูนย์ราชการในหมู่บ้าน
(ทั่วไปมีอะไรบ้างได้แก่ วัด มัสยิด โรงเรียน โรงพยาบาล สถานีอนามัย ป้อมตำรวจ ศูนย์เด็กฯ หอกระจายข่าว ศาลาหมู่บ้าน รวมถึง หน่วยราชการต่างๆ)

โรงเรียนบ้านบูเก๊ะตาโมงมิตรภาพที128



1.3 ข้อมูลอาณาเขตในพื้นที่หมู่บ้าน

1) อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับ
บ้านบูเกะตำบลบูกิตทิศใต้ ติดต่อกับ
บ้านชอม่อง ตำบลมะรือโบออกทิศตะวันออก ติดต่อกับ
บ้านบูเก๊ะตาโมงตำบลบูกิตทิศตะวันตก ติดต่อกับ
บ้านกำปงบารูตำบลบูกิต

2) ลักษณะภูมิประเทศ
(ได้แก่ ภูมิอากาศและฤดูกาล เช่น มีสภาพื้นที่ราบลุ่ม ฤดูร้อนอากาศร้อนมาก หรือฤดูฝน ฝนตกหนัก ตกไม่แน่นอน สภาพอากาศเหมาะสำหรับการประกอบอาชีพทำนา เพาะปลูก หรือเลี้ยงสัตว์อะไร)

เป็รที่ราบเชิงเขา มีสภาพอากาศร้อนชื่้นฝนตกตลอดทั้งปี เหมาะแก่การทำเกษตรและเลี้ยงสัตว์



1.4 ข้อมูลประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ประชากรของหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน 1511 คน แยกเป็น เพศชาย 749 คน / เพศหญิง 762 คน

2) เยาวชนในหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน คน แยกเป็น เพศชาย คน / เพศหญิง คน
("เด็ก" หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน 14 ปีบริบูรณ์ "เยาวชน" หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 14 ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์)

3) ผู้สูงอายุในหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน 134 คน แยกเป็น เพศชาย49 คน / เพศหญิง85 คน
(อายุ 60 ปีขึ้นไป)

4) ประชากร/ครัวเรือนยากจน
(รายได้ไม่ถึง 30,000 บาท/คน/ปี ยึดข้อมูล จปฐ. ปี 2560)
- ประชากรในหมู่บ้านมีรายได้ จำนวน 65000 บาท/คน/ปี
- ครัวเรือนยากจน จำนวน 2 ครัวเรือน

5) เด็กกำพร้า จำนวน 4 คน แยกเป็น เพศชาย 2 คน/ เพศหญิง 2 คน

6) คนพิการ จำนวน 26 คน แยกเป็น เพศชาย 13 คน / เพศหญิง 13 คน

7) ผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 4 คน แยกเป็น เพศชาย 0 คน / เพศหญิง 4 คน

1.5 ข้อมูลการศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน

1) การศึกษาสายสามัญ จำนวน 823 คน แยกเป็น เพศชาย 372 คน / เพศหญิง451 คน

2) การศึกษาสายอาชีพ จำนวน 123 คน แยกเป็น เพศชาย 75 คน / เพศหญิง 48 คน

3) การศึกษาทางศาสนา จำนวน 47 คน แยกเป็น เพศชาย 36 คน / เพศหญิง 12 คน

4) การศึกษาระดับอุดมศึกษา จำนวน 45 คน แยกเป็น เพศชาย 19 คน / เพศหญิง 26 คน
- การศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศ
ระดับปริญญาตรีจำนวน 43 คน แยกเป็น เพศชาย 17 คน / เพศหญิง 26 คน
ระดับปริญญาโท จำนวน 0 คน แยกเป็น เพศชาย 0 คน / เพศหญิง 0 คน
ระดับปริญญาเอก จำนวน 0 คน แยกเป็น เพศชาย 0 คน / เพศหญิง 0 คน

- การศึกษาระดับอุดมศึกษาต่างประเทศ
ระดับปริญญาตรี จำนวน 2 คน แยกเป็น เพศชาย 2 คน / เพศหญิง 0 คน
ระดับปริญญาโท จำนวน 0 คน แยกเป็น เพศชาย 0 คน / เพศหญิง 0 คน
ระดับปริญญาเอก จำนวน 0 คน แยกเป็น เพศชาย 0 คน / เพศหญิง 0 คน

5) สถานศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน
- โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 0 แห่ง
- โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา จำนวน 0 แห่ง
- สถาบันปอเนาะ จำนวน 0 แห่ง
- ตาดีกา จำนวน 1 แห่ง
- อื่น


1.6 ข้อมูลด้านศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ผู้นับถือศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน
- ศาสนาอิสลาม จำนวน 1511 คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน 100
- ศาสนาพุทธ จำนวน 0คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน 0
- ศาสนาอื่นโปรด จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน 0

2) ศาสนสถานในพื้นที่หมู่บ้าน
- มัสยิด จำนวน 1 แห่ง
- บาราเซาะ /สุเหร่า จำนวน 2แห่ง
- วัด จำนวน 0แห่ง
- สำนักสงฆ์ จำนวน 0แห่ง
- ที่พักสงฆ์ จำนวน 0 แห่ง
- อื่นๆ ระบุ

1.7 ข้อมูลเศรษฐกิจในพื้นที่หมู่บ้าน

1) อาชีพหลักประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน (เช่น ค้าขาย ทอผ้า หรือรับจ้างทั่วไป เป็นต้น)
ระบุอาชีพ กรีดยาง จำนวน 214 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ รับจ้าง จำนวน 352 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน

2) อาชีพเสริมประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน (เช่น เกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น)
ระบุอาชีพ ลี้ยงสัตว์ จำนวน 25 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ เกษตร จำนวน 37 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน

3) ภูมิปัญญา/ผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจของหมู่บ้าน

 


4) ข้อมูลศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่หมู่บ้าน
- ชื่อสถานที่ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อผู้รับผิดชอบ นายอารงยูโซ๊ะ เบอร์โทร 0815436867
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร

5) หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน (เช่น ปั๊มน้ำมัน โรงสี ร้านค้า)จำนวน 13 แห่ง

6) ข้อมูลกลุ่มหรือองค์กรในพื้นที่หมู่บ้าน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร กลุ่มทำน้ำยาล้างจาน จำนวนสมาชิก 26 คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร กลุ่มประดิษฐ์ดอกไม้จากใยบัว จำนวนสมาชิก 20 คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร กลุ่มทำขนมกะหรี่ปั้ปพันปี จำนวนสมาชิก 20 คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน

7) กองทุนในหมู่บ้าน
จำนวน 4 แห่ง
เช่น กองทุน
- ชื่อกองทุน กองทุนหมู่บ้านบ้านบูเกะกือจิ ชื่อ/เบอร์โทรประธาน นายอาซูวันเบ็ญรอฮฺมาน จำนวนสมาชิก 137 คน
- ชื่อกองทุน กองทุนร้านค้าประชารัฐ ชื่อ/เบอร์โทรประธาน นายอาซูวันเบ็ญรอฮฺมาน จำนวนสมาชิก 27 คน
- ชื่อกองทุน กองทุนสาแรกัตอิกรอม ชื่อ/เบอร์โทรประธาน นายอาซูวันเบ็ญรอฮฺมาน จำนวนสมาชิก 1213 คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน

1.8 ข้อมูลการท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่บ้าน
1) แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง

2) ประเพณีวัฒนธรรมที่สำคัญของหมู่บ้าน (เช่นประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีกวนอาซูรอ เป็นต้น)

1.ประเพณีกวนอาซูรอ 2.ประเพณีงานเมาลิดสัมพันธ์ ประจำปี 3.ประเพณีตรุษวันอีดิลฟิตรี 4.ประเพณีการเข้าสุนัต



1.9 ข้อมูลการบริการขั้นพื้นฐานในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ถนน
ข้อมูลการเดินทางเข้าหมู่บ้าน จากอำเภอ เจาไอร้องใช้ทางหลวงสาย 4065 ระยะ 5 กิโลเมตร

- ถนนลาดยาง จำนวน 3สาย ได้แก่
ชื่อถนน กีรออาตี ระยะทางประมาณ 0.8 กิโลเมตร
ชื่อถนน บาเละยาโต๊ะ ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร

- ถนนลูกรัง จำนวน 0สาย ได้แก่
ชื่อถนน ระยะทางประมาณ กิโลเมตร
ชื่อถนน ระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร

2) การไฟฟ้า (มีไฟฟ้าใช้ครอบคลุมทุกครัวเรือนในหมู่บ้าน ) คิดเป็นร้อยละ 100

3) แหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำสาธารณะ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
ชื่อลำน้ำ/แหล่งน้ำไหลผ่านหมู่บ้านสภาพแหล่งน้ำ
1 สายลูโบ๊ะบาตู-บูเกะกือจิ ปาเร๊ะรูโบ๊ะ ช่วงหน้าแล้งน้ำลด
2
3
4
5
สภาพแหล่งน้ำ เช่น ตื้นเขิน กักเก็บน้ำได้น้อย ในฤดูแล้งไม่มีน้ำ
แหล่งน้ำสาธารณะ
ชื่ออ่างเก็บน้ำ/สระน้ำ/หนองน้ำขนาด/ความจุ ต่อไร่สภาพแหล่งน้ำ
1
2
3
4
5
สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำตื้นเขิน น้ำใช้ได้ตลอดปี น้ำใช้ไม่ตลอดปี

4) พื้นที่ป่าชุมชน
- ชื่อป่าชุมชน บูเก๊ะตาโมง จำนวนพื้นที่ 1000 ไร่
- ชื่อป่าชุมชน จำนวนพื้นที่ ไร่

ส่วนที่ 2 ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่หมู่บ้าน

2.1 สถานการณ์ในอดีตและปัจจุบันในหมู่บ้าน

2.1.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

อดีต (๑) สถานการณ์ในอดีตทุกคนอยู่ร่วมกันโดยไม่หวาดระแวงซึ่งกันและกัน
(๒) การทำกิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันมีค่านิยมที่ดี (๓) มีการปฏิบัติตามกฎ กติกา หมู่บ้านอย่างเคร่งรัด
ปัจจุบัน (๑) ประชาชนมีความเชื่อใจลดลงเพราะเกิดจากสถานการณ์ความไม่สงบ (๒) สังคมปัจจุบันมีค่านิยมที่ผิดๆ
(3) สังคมปัจจุบันเน้นสังคมวัตถุนิยม



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

อดีต (๑) การดำเนินชีวิตไปมาอย่างปกติสุข
(๒) พหุวัฒนธรรมมีความเข้มแข็ง (๓) ไม่มีความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
ปัจจุบัน (๑) การดำเนินชีวิตมีความเสี่ยงเนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบัน (๒) ไม่มีความไว้วางใจ หวาดระแวงซึ่งกันและกัน
(๓) ประชาชนมีความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ



2.1.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

อดีต (๑) ประชาชนมีความเป็นอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
(๒) มีความเอื้อเฟือเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน (๓) ไม่มีการแบ่งแยกระหว่างสองศาสนา สามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

ปัจจุบัน (๑) ปัญหาการก่อเหตุของกลุ่มผู้มีความคิดต่าง
(๒) ปัญหาการระบาดของยาเสพติดในชุมชน (๓) ปัญหาของการสื่อสารจากบุคคลภายนอกที่ไม่เข้าใจกัน



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

อดีต (๑) ประชาชนมีน้ำใจแบ่งปันซึ่งกันและกัน
(๒) มีพืชผลทางการเกษตรปลอดสารพิษ (๓) ไม่มีการแย่งชิงกันภายในชุมชน/สังคม

ปัจจุบัน (๑) ปัญหาแหล่งทำมาหากิน (๒) ประชาชนไม่มีน้ำใจซึ่งกันและกัน (๓) ปัญหาพืชผลทางการเกษตรไม่มีคุณภาพ เศรษฐกิจตกต่ำ



2.1.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

อดีต (๑) มีความเอื้อเฟือเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน (๒) ประชาชนมีผู้นำชุมชนและเป็นศูนย์กลางความยุติธรรม
(๓) ไม่มีการแบ่งแยกระหว่างสองศาสนา สามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ปัจจุบัน (๑) ปัญหาของผู้มีความคิดต่าง (๒) ปัญหาการสื่อสารของนโยบายภาครัฐกับประชาชนไม่มีความเชื่อถือ (๓) ปัญหาของการขัดผลประโยชน์ของผู้นำชุมชน



2.2 จุดแข็ง หรือทุนทางสังคมหรือของดีของหมู่บ้านที่สนับสนุนต่อการพัฒนาหมู่บ้าน

2.2.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

(๑) ผู้นำมีศักยภาพ
(๒) รู้บทบาท/หน้าที่ของตน รวมทั้งหนุนเสริมงานด้านต่างๆ ได้ (๓) มีหลักศาสนา เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

(๑) ผู้นำในหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง
(๒) มีกลุ่มองค์กรเข้ามาสนับสนุนโครงการต่างๆ (๓) มีชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้านที่เข้มแข็ง



2.2.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

(๑) ผู้นำในหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง
(๒) ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ (๓)มีหน่วยกำลังในพื้นที่พร้อมสนับสนุนให้ความรู้ความเข้าใจเครื่องมือในการป้องกัน



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

(๑) ผู้นำชุมชนเป็นนักพัฒนาทุกๆด้านในหมู่บ้าน
(๒) มีศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในหมู่บ้านเป็นตัวแทนระดับอำเภอ (๓) มีทรัพยากรที่พียงพอ/ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ



2.2.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

(๑) ผู้นำในชุมชนมีความเข้มแข็ง
(๒) ประชาชนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม (๓) มีผู้นำแต่ละองค์กรในชุมชนที่มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความเข้าใจให้กับประชาชนในการอยู่ร่วมกันในสังคม



2.3 จุดอ่อนหรือปัญหาอุปสรรค์ต่อการพัฒนาของหมู่บ้าน

2.3.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

(๑) ปัญหายาเสพติดที่ระบาดในชุมชนอย่างรุนแรง
(๒) ปัญหาการลักเล็กขโมยน้อย
(๓) สถานการณ์ความไม่สงบในปัจจุบัน



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

(๑) ปัญหายาเสพติดที่ระบาดในชุมชนอย่างรุนแรง
(๒) ปัญหาการลักเล็กขโมยน้อย
(๓) สถานการณ์ความไม่สงบในปัจจุบัน



2.3.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

(๑) ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ
(๒) ปัญหาการว่างงาน (๓) ปัญหาทางด้านการศึกษา



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

(๑) ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ
(๒) ปัญหาการว่างงาน (๓) ปัญหาทางด้านการศึกษา



2.3.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

(๑) ปัญหาความขัดแย้งของประชาชนในหมู่บ้าน
(๒) ปัญหาการสร้างความเข้าใจต่อนโยบายของภาครัฐ (๓) ปัญหาความคิดต่างกันของประชาชนในหมู่บ้าน



2.4 แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน

2.4.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

(๑) เสริมสร้างความรักความสามัคคีให้ประชาชนในพื้นที่
(๒) ปลูกจิตสำนึก สร้างภูมิคุ้มกันให้มีคุณธรรม จริยธรรมที่ดี (๓) ปลูกฝังค่านิยมที่ดีให้กับเยาวชนในพื้นที่



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

(๑) การป้องกันและแก้ไขการแพร่ระบาดของยาเสพติด
(๒) สร้างความเชื่อมั่นภาครัฐระหว่างประชาชน (๓) การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน



2.4.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

(๑) การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่
(๒) การส่งเสริมสุขภาพที่ดีของประชาชนในพื้นที่ (๓) การส่งเสริมและสนับสนุนทางด้านการศึกษาให้กับประชาชนในพื้นที่



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

(๑) การส่งเสริมอาชีพให้กับประชาชนในพื้นที่
(๒) การสนับสนุนกลุ่มองค์กรของประชาชนในพื้นที่ (๓) ส่งเสริมผลิตภัณฑ์/สินค้า ในชุมชนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น



2.4.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

(๑)ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายยุติธรรมชุมชน
(๒) จัดกิจกรรมส่งเสริมสร้างความเข้าใจต่อนโยบายของภาครัฐในการแก้ปัญหา (๓) ส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน



2.5 โครงการสำคัญที่ผ่านมาที่ส่งผลต่อการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน (ระบุไม่เกิน 5 โครงการ)

2.5.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

(๑) โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม เยาวชนในพื้นที่ (๒) โครงการอบรมภาคฤดูร้อน
(๓) โครงการครอบครัวคุณธรรม



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

(๑) โครงการการซ้อมแผนเผชิญเหตุ/การป้องกันภัยในหมู่บ้าน
(2) โครงการฝึกศักยภาพชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน
(3) โครงการอบรมพัฒนาเยาวชนและภาคประชาชนในพื้นที่



2.5.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

(๑) โครงการส่งเสริมการบริโภคเกลือไอโอดีน (๒) โครงการผักริมรั้ว กินได้ (๓) โครงการเมาลิดสัมพันธ์ ประจำปี



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

(๑)โครงการกลุ่มทำน้ำยาล้างจาน (๒) โครงการกลุ่มถักกระเป๋าด้วยเชือกร่ม (๓) โครงการกลุ่มทำกะรีปั๊บ



2.5.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

(๑) โครงการหมู่บ้านสะอาดสร้างสังคมน่าอยู่
(๒) โครงการสนับสนุนสวัสดิการชุมชน
(๓) โครงการประชารัฐร่วมใจสร้างสังคมน่าอยู่



ส่วนที่3 แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

3.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์คนดี มีคุณธรรม
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


2) ยุทธศาสตร์อยู่รอด ปลอดภัย
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


3.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์อยู่เย็น เป็นสุข
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม

๑.เพื่อปลูกฝั่งจิตสำนึกให้กับเยาวชนในหมู่บ้าน ๒.เพื่อเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรม ตามวิธีอิสลาม ๓.เพื่อใช้เวลาว่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด

๑.มีการจัดตั้งคณะกรรมการในการขับเคลื่อนโครงการ ๒.จัดอบรมให้แก่เยาวชนในหมู่บ้าน ๓.ติดตามและประเมินผลของโครงการ

เยาวชนจำนวน ๑๕๐คน

เมษายน-พฤษภาคม ๒๕๖๑

๑๐๐,๐๐๐บาท

๑.สามารถปลูกฝั่งจิตสำนึกให้กับเยาวชนในหมู่บ้าน ๒.สามารถเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรม ตามวิธีอิสลาม ๓.สามารถใช้เวลาว่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


2) ยุทธศาสตร์อยู่ดี กินดี
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

โครงการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงโค

๑.เพื่อส่งเสริมการมีงานทำคนในพื้นที่ ๒.เพื่อลดปัญหาการว่างงาน ๓.เพื่อเป็นแหล่งตลาดโคในอนาคต

๑.ประชาคมหมู่บ้านเพื่อเสริมแนวทางการประกอบอาชีพ ๒.จัดอบรมฝึกอาชีพ ๓.สนับสนุนปัจจัยการต่างๆ

ประชาชนจำนวน๑๐ คน

เมษายน-พฤษภาคม ๒๕๖๑

๒๐๐,๐๐๐บาท

๑.ชาวบ้านมีอาชีพ และเพิ่มรายได้กับชาวบ้าน
๒.สร้างแหล่งตลาด ด้านการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ และส่งเสริมการแปรรูปอาหารด้านเนื้อสัตว์ในพื้นที่ ๓.ชาวบ้านมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

2

โครงการปลูกพืชผักสวนครัว รั้วกินได้

๑.เพื่อลดภาระการใช้จ่ายในการครองชีพ ๒.เพื่อต้องการให้คนในชุมชนหันมาดูแลสุขภาพมากขึ้น ๓.เพื่อส่งเสริมการมีงานทำของคนในชุมชนและเพิ่มช่องทางการประกอบอาชีพเสริม

๑.ประชาคมหมู่บ้านเพื่อเสริมแนวทางการประกอบอาชีพ ๒.จัดอบรมฝึกอาชีพ๓.สนับสนุนปัจจัยการเกษตร

ประชาชน๕๐ครัวเรือน

เมษายน-พฤษภาคม ๒๕๖๑

๒๐๐,๐๐๐บาท

๑.ชาวบ้านชุมชนมีรายได้เสริมจากการประกอบอาชีพ ๒.สามารถให้สุชภาพคนในชุมชนดีขึ้น โดยปลอดสารพิษต่างๆ ๓.สามารถส่งเสริมการใช้ชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

3

โครงการส่งเสริมอาชีพกลุ่มเยาวชน

๑.เพื่อให้เยาวชนที่ว่างงาน มีโอกาสสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ๒.เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มให้เกิดการเรียนรู้และเพิ่มรายได้ให้ตนเอง ๓.เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้กับกลุ่มเยาวชน

๑.ประชาคมหมู่บ้านเพื่อเสริมแนวทางการประกอบอาชีพ ๒.จัดอบรมฝึกอาชีพ๓.สนับสนุนปัจจัยการผลิต

เยาวชน๓๐ คน

เมษายน-พฤษภาคม ๒๕๖๑

๑๕๐,๐๐๐บาท

๑.สามารถให้กลุ่มเยาวชนมีอาชีพ และมีรายได้ให้ตัวเองได้ ๒.สามารถเพิ่มทักษะด้านอาชีพให้กับกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ได้ ๓.ส่งเสริมการรวมกลุ่มให้เกิดการเรียนรู้และเพิ่มรายได้ให้ตนเอง

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


3.2 ด้านการสร้างความเข้าใจ
1) ยุทธศาสตร์อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6