แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อเป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิตและบริโภคของประชาชนทุกครัวเรือนให้อยู่บนวิถีพอเพียงและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยทีสุด และการลดขยะภายในครัวเรือนและนำไปทำประโยชน์ได้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : 1.1 ร้อยละ 80 ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเข้ารับฟังสภาพปัญหาของชุมชน 1.2 ร้อยละ 100 กลุ่มเสี่ยงและป่วยเข้าร่วมกิจกรรม

 

 

ครัวเรือนร้อยละ  80  ของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเข้ารับฟังสภาพปัญหาของชุมชน รวมทั้งการเข้าร่วทวางแผนแก้ไขปัญหาของชุมชน ร้อยละ 80 กลุ่มเสี่ยงและป่วยเข้าร่วมกิจกรรม การคัดกรองโรคความดันเบาหวานและหลอดเลือด

2 เพื่อเป็นหมู่บ้านต้นแบบ ส่งเสริมสุขภาวะทั้ง 4 มิติ ในกลุ่มเด็ก เยาวชนและ ผู้สูงอายุรวมทั้งกลุ่ม ประชาชนให้มีการออก กำลังกาย ลด ละเลิกการ สูบบุหรี่ และดื่มสุรา และส่งเสริมศีลธรรมเพื่อ การดำรงชีพอย่างมีสุข ทั่วไป
ตัวชี้วัด : 2.1แกนนำเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไป ที่มีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละ 50 นาที 2.2 เกิดแกนนำออกกำลังกายในชุมชน 5 คน และแกนนำในผู้สูงอายุ 2 คน

 

 

เกิดแกนนำการออกำลังกาย ในกลุ่มเด็ก เยาวชน  ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไป (กลุ่มสามวัย)และมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสัปดาห์ละ  3  ครั้งๆละ  50  นาที โดยใช้ถานที่ในการออกกำลังกายโรงเรียนวัดนากัน

เกิดแกนนำออกกำลังกายในชุมชน 3 คน และแกนนำในผู้สูงอายุ 2 คน  นาง อนงค์ กุลฑล,นางสุภาพร ทองสุภา,นางโสภา ไอยสุวรรณ, กลุ่มผู้สูงอายุ นางพร้อย แก้วพลทอง,นางเบญญา  สุวรรณ

3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับหมู่บ้านและระดับตำบล เรื่องปรัชญาวิถีชีวิตพอเพียง ภูมิปัญญาวัฒนธรรมท้องถิ่น การใช้สมุนไพรในการส่งเสริมสุขภาพควบคู่กับยาแผนปัจจุบัน และการใช้วิธีการทางชีภาพในการปราบศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : 3.1 ร้อยละ 10 ของครัวเรือน มีสวนสมุนไพรที่รวบรวมพันธ์สมุนไพรทั้งในท้องถิ่นและนอกท้องถิ่น ไว้ใช้ประโยชน์ 3.2 หมู่บ้าน/ชุมชนมีกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สืบทอดเผยแพร่เรื่องวิถีชีวิตพอเพียง ภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้สมุนไพรในการส่งเสริมสุขภาพควบคู่กับยาแผนปัจจุบัน เดือนละ 1 ครั้ง

 

 

เกิดร้อยละ 10 ของครัวเรือน มีสวนสมุนไพรที่รวบรวมพันธ์สมุนไพรทั้งในท้องถิ่นและนอกท้องถิ่น ไว้ใช้ประโยชน์ ในครัวเรือน

และหมู่บ้าน/ชุมชนมีกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สืบทอดเผยแพร่เรื่องวิถีชีวิตพอเพียง ภูมิปัญญาท้องถิ่น  การใช้สมุนไพรในการส่งเสริมสุขภาพควบคู่กับยาแผนปัจจุบัน  เดือนละ  1 ครั้ง

4 มีการประชุมผู้นำชุมชน วิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน และหาแนวทางแก้ไข
ตัวชี้วัด : 4.1 มีการประชุมผู้นำชุมชน ประจำเดือนทุกเดือนละๆ 1 ครั้ง

 

 

มีการประชุมหมู่บ้านทุกเดือน และเกิดการนำเสนอแผนชุมชนและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน

5 เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการโดยทีม สสส.สจรส.มอ.
ตัวชี้วัด : 1.จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ 2.การจัดทำรายงานโครงการ 3.การเข้าร่วมประชุมกับ สสส.และสจรส.มอ.