สนับสนุนการสร้างระบบความมั่นคงทางอาหารของชุมชนบ้านลูโบ๊ะซูลง ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

สรุปผลการดำเนินงานและคืนข้อมูลสู่ชมชน (ถอดบทเรียนการทำงาน)30 พฤศจิกายน 2021
30
พฤศจิกายน 2021รายงานจากพื้นที่ โดย nana56psu@gmail.com
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรม สรุปผลการดำเนินงานและคืนข้อมูลสู่ชมชน (ถอดบทเรียนการทำงาน)

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09.00 น.

กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่เข้ารับผลกระทบจากสถานการโควิด 19 จำนวน 20 คน

รายละเอียดรูปแบบกิจกรรรม

  1. สรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ได้ดำเนินงาน
  2. ผลเกิดขึ้นจากการดำเนินกิจกรรม
  3. ปัญหาอุปสรรค์ในการดำเนินงาน
  4. สิ่งที่ประทับใจจากการดำเนินงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เป็นพูดคุยแลกเปลี่ยนรู้กระบวนการทำงานภายในโครงการตลอดโครงการ เป็นการประมวลสรุปผลสิ่งที่เกิดขึ้นจริง

  1. มีสถานที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการโควิด
  2. เกิดข้อมูลข้อมูลแหล่งผลิตอาหารภายในชุมชน คือ

- แหล่งผลิตอาหารธรรมชาติ ได้แก่ บ่อปลา น้ำคลองโคกหม้อ อ่างเก็บน้ำแนแวะห์ ทุ่งนาแนแวะห์และปาวา ซึ่งเป็นแหล่งโปรตีน และคาร์โปร์ไฮเดรตภายในหมู่บ้าน สามารถผลิตอาหารขึ้นเองธรรมชาติตลอดฤดูกาล - แหล่งปลูกข้าว และพืชผัก ผลไม้ ตามสวนเกษตรกร - กลุ่มอาชีพผลิตอาหาร ได้แก่ ทำขนม  น้ำจิ้ม กรือโป๊ะ และเครืองแกง - กลุ่มเลี้ยงสัตว์  ได้แก่ ไก่ ปลา แพะ - ร้านค้า

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพ 3 อ 2 ส. และการดูแลสุขภาพตนเองในช่วงสถานการณ์โควิด19 และมีการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโควิด 19
  2. เกิดกฎกติการการรับมือร่วมกันในภายในหมู่
  3. เกิดแผนการรับมือสถานการณ์โควิด 19 ในชุมชน มีพื้นที่รับมือ และปฏิบัติตามได้แก่ มัสยิด โรงเรียนตาดีกา และร้านค้าในชุมชน
  4. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในเรืองการจัดทำบัญชีครัวเรือน และจดบันทึกบัญชีครัวเรือนจำนวน 27 คน กลุ่มเป้าหมายเห็นคุณค่าของเงิน ลดการฟุ้งเฟือย ฝึกการเก็บออมเริ่มตั้งแต่ 5 -30 บาท
  5. เกิดทักษการเพาะปลูกเป็นธรรมชาติ ความรู้การทำปุยหมัก และการทำโฮรโมร์ไข่
  6. เกิดนวัตกรรมการถนอนอาหารปลอดภัยในชุมชน ด้วยการบูรณาปรัชญาภูมิปัญญาท้องถิ่น
  7. เกิดพื้นที่ศูนย์กลางผลิตอาหารในชุมชน 2 พื้นที่ ได้แก่ โคกหนองนาโมลผู้ใหญบ้าน และ โรงแครปลูกผัก
  8. เกิดภาคีเครือสนับสนุนโครงการอำนวยความรู้และวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ฟาร์มเตราะบอน เกษตรอำเภอ และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  9. เกิดกองทุนออมทรัพย์ชุมชน (เก็บออม หุ้น ค้าขายลอยฟ้า ผ่อนเดาน์) และเกิดการหมุนเวียนเพื่อให้เกิดรายได้ให้เพิ่มขึ้น
  10. สมาขิกกลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยนประมาน 300-900 บาท

  11. สิงที่ประทับใจคือ มีเงินเก็บ ลดความเครียด มีกำลังใจ และรู้สึกได้ถึงการไม่รู้สึกโดดเดียวไม่ถูกทอดทิ้ง