directions_run

โครงการปลูกข้าวพันธ์พื้นเมือง ตามแนวทางชีววิถี บ้านคลองหมาก หมู่ที่3 ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกข้าวพันธ์พื้นเมือง ตามแนวทางชีววิถี บ้านคลองหมาก หมู่ที่3 ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01812
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013
งบประมาณ 167,750.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุเมศ บินระหีม
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 3 บ้านคลองหมาก (ท่าไร่) ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
ละติจูด-ลองจิจูด 9.1761224954637,98.949148013879place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2011 10 พ.ย. 2012 1 ก.ย. 2011 10 พ.ย. 2012 0.00
2 11 พ.ย. 2012 31 ต.ค. 2013 11 พ.ย. 2012 31 ต.ค. 2013 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (167,750.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชุมชนบ้านคลองหมากเห็นความสำคัญของการอณุรักษ์พันธุ์ข้าวพื้นเมืองและกระบวนการผลิตทางการเกษตร ทำให้เกิดกระบวนการผลิตอาหารในเชิงชีววิถี
  1. พันธ์ข้าวพื้นเมืองได้เก็บรักษาให้คงอยู่และขยาย    พันธ์ต่อไป
  2. มีการผลิตข้าวปลอดสารพิษไว้บริโภคในชุมชน
  3. ทรัพยากรของชุมชนได้รับการปกป้องฟื้นฟู
  4. พันธ์ปลาไกลศูนย์พันธ์ยังคงอยู่(ปลาหัวกัว)
2 เพื่อให้ชุมชนบ้านคลองหมากใช้กระบวนการร่วมคิด ร่วมทำ ในกระบวนการแก้ปัญหาและสร้างวิถีชุมชนเพื่อรักษาพื้นที่นาที่มีอยู่แล้วให้คงเป็น แห่ลงผลิตข้าวปลอดสารพิษอย่างเพียงพอต่อความต้องการของชุมชน
  1. เกิดกระบวนการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
  2. ชุมชนมีการจัดการแหล่งอาหารที่เพียงพอและปลอดภัย
  3. คนในชุมชนเข้าใจถึงกระบวนการทำเกษตรชีววิถีมากขึ้น 4.  พื้นที่นาและบริเวณรอบรอบเกาะท่าไร่ได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟูให้คงอยู่ตลอดไป
3 เพื่อให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในพื้นที่จริง และนอกสถานที่ในเรื่องการทำเกษตรเชิงชีววิถี เพื่อแก้ปัญหาสุขภาวะทุกมิติ
  1. กลุ่มเครือข่ายในชุมชนได้รับการเสริมสร้าง ให้มีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาวะ
  2. เกิดการทำงานที่สอดคล้องกันระหว่างชุมชนและองค์กรส่วนท้องถิ่น
4 เพื่อเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้การทำนาแบบชีวววิถีและเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อเป็นพื้นที่อนุรักษ์นกป่าที่ใกล้จะศูนย์พันธ์รวมถึงการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชน หน่วยงาน องค์กร ได้รับทราบอย่างทั่วถึง
  1. พื้นที่ทำนาบนเกาะท่าไร่และบริเวณป่าชายเลนที่มีพื้นที่ติดกันได้มีการปกป้องรักษาไว้ให้คงอยู่กับชุมชนตลอดไป
  2. เป็นแหล่งปลูกข้าวปลอดสารเคมีไว้บริโภคและจำหน่ายเป็นรายได้เข้าสู่ชุมชน
  3. ชุมชน หน่วยงาน องค์กร ภาคี เครือข่ายได้รับทราบอย่างทั่วถึง
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.เวทีทำความเข้าใจกิจกรรมโครงการชุมชนน่าอยู่ร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อจัดให้มีกลไกในการทำงานให้ชื่อว่า สภาผู้นำชุมชนบ้านคลองหมากประกอบด้วย 3 ภาคส่วน ภาควิชาการ วิชาชีพภาครัฐ และท้องถิ่น เพื่อรวบรวมข้อมูล สถานการณ์ มาวิเคราะห์ กำหนดแนวทางโดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

2.ประชุมถอดบทเรียนกลุ่มผู้ทำนาในแบบชีววิถีจำนวน 11 ครัวเรือนเพื่อให้เกิดชุดความรู้นำไปขยายผลให้กับกลุ่มทำนาที่เหลือต่อไป

3.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำปุยอินทรี การทำน้ำหมักชีวภาพ การปรับปรุงดิน เพื่อให้ได้ข้าวปลอดสารพิษและลดรายจ่ายในการปลูกข้าว

4.จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องพิษภัยของสารเคมีที่ใช้ในกระบวนการปลูกข้าวและสารตกค้างในผลผลิตที่มีต่อร่างกายและสิ่งแวดล้อม

5.จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง การทำนาแบบโยนกล้าเพื่อลดต้นทุน และแรงงานในการปลูก

6.จัดทำแปลงสาธิตการปลูกข้าวเดือนแม่ เก็บเกี่ยวเดือนพ่อโดยวิธีการโยน ตามแนวชีววิถีโดยใช้ข้าวพันธุ์พื้นเมือง ตั้งแต่การจัดหาพันธ์ข้าว จนถึงการเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษ์ษาพันธ์ข้าวไว้ให้คงอยู่ตลอดไป

7.กิจกรรมขนอุปกรณ์ทำนาเข้าพื้นที่เกาะท่าไร่  การขนย้ายอุปกรณ์เข้าเกาะท่าไร่โดยมีอุกกรณ์ดั้งนี้  รถไถอุกรณ์พวงแผงเพาะกล้าพันธุ์ข้าวปุ๋ยอินทรีย์และน้ำมันเชื้อเพลิง

8.จัดเตรียมแผงเตรียมดินเตรียมเมล็ดพันธุ์เพื่อเพาะต้นกล้า จำนวน 800 แผง

9.ไถพรวนดินในแปลงนาพร้อมตกแต่งคันนาแลงสาธิตของสมาชิกภายในกลุ่มร่วมกันไถ่พรวนเตรียมดินแต่งคันนาใช้เวลา 5 วัน วันละ 10 คน

10.ศึกษาดูงาน

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ต.ค. 2012 16:45 น.