stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ 3 ออม ด้วยพืชผักพื้นบ้าน
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01874
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013
งบประมาณ 187,200.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.จันทนา อานัน
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านทุ่งพัฒนา ม.13 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.8955809818284,99.814140892place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2012 28 ก.พ. 2013 1 ต.ค. 2012 28 ก.พ. 2013 0.00
2 1 มี.ค. 2013 31 ต.ค. 2013 1 มี.ค. 2013 31 ต.ค. 2013 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (187,200.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดจิตสำนึกในการดูแลสุขภาพ และคนในชุมชนมีความสามารถจัดการการบริโภคที่ปลอดภัยได้
  • ประชุมทำความเข้าใจต่อคณะทำงานเรื่องการดูแลสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง

  • ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองและผลกระทบต่อสุขภาพ

  • แบบประเมินผลสุขภาพตนเองและครอบครัว

  • แบบบันทึกประเมินผล

  • ข้อมูลที่เก็บโดยทีมทำงาน 4 มิติ (จิต กาย สังคม เศรษฐกิจ)

2 เพื่่อเสริมสร้างและสนับสนุนความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพวิถีชีวิตแบบมีส่วนร่วม
  • ชุมชนมีต้นแบบการปลูกพืชผักพื้นบ้านข้างรั้วแบบยกพื้น

  • ครอบครัวอาสาต้นแบบการปลูกพืชผักพื้นบ้าน 30 ครอบครัว

  • ตัวอย่างของคนในชุมชนที่มีการออมด้วยการปลูกผักปลอดสาร

  • แปลงเพาะพันธุ์กล้าผักพื้นบ้านกลางของชุมชน

  • มีผักปลอดสารพิษไว้ทานเองแบบง่าย ๆ ไม่ต้องซื้อและประหยัดรายจ่าย

3 เพื่อการพัฒนากลไกกระบวนการแบบมีส่วนร่วมและสามารถขับเคลื่อนงานการดูแลสุขภาพอย่างยั่งยืน
  • มีกลไกทีมทำงานด้านการดูแลสุขภาพชุมชน

  • มีกลุ่มคนรักสุขภาพประจำหมู่บ้าน/ครอบครัวต้นแบบ

  • กลไกพึ่งตนเองด้วย 3 ออม

  • บันทึกความร่วมมือการดำเนินการขยายผลกับภาคส่วน

  • ทีมติดตาม/ประเมินผล

  • มีตลาดนัดเพื่อสุขภาพประจำเดือน

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กิจกรรมที่   1.  ประชุมคณะทำงานจำนวน 4 ครั้ง   2.  พัฒนาศักยภาพเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพตนเองและเรื่องผลกระทบต่อการบริโภคที่ไม่ปลอดภัยสู่การบริโภคที่ปลอดภัย   3.  เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และรายงานผลกระทบต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ปลอดภัยด้านสุขภาพ 4 มิติและการออม 2 ครั้ง   4.  เสริมสร้างสนับสนุนศักยภาพแกนอาสาสู่การปฏิบัติ (ปลูกพืชผักพื้นบ้าน ชายคาบ้าน)เพื่อกินเอง โดยศูนย์กลางเพาะพันธุ์กล้าผักพื้นบ้าน   5.  เวทีการทำข้อตกลงของชุมชนเพื่อการจัดการสุขภาพที่ปลอดภัย   6.  ตลาดนัดเพื่อสุขภาพ “โครงการ 3 ออมด้วยพืชผักพื้นบ้าน”   7.  เวทีพัฒนากลไกทีมคณะทำงานด้านสุขภาพชุมชน เพื่อเป็นการพัฒนาทีมคณะทำงานหมู่บ้านชุดนี้ ให้เข้มแข็งและมีความรักความสามัคคีที่เข้มแข็งจากภายใน(Input)

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2012 09:42 น.