stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ่อกุ้งร้างสร้างสุข
ภายใต้โครงการ สำนักงาน สช. จัดเวทีพัฒนานโยบายสาธารณะ ๑๔ จังหวัดภาคใต้
รหัสโครงการ 54-01843
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 7 พฤศจิกายน 2011 - 30 พฤศจิกายน 2012
งบประมาณ 188,680.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประยูร เจริญขุน
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่9 บ้านสระท่าออก ตำบลท่าพญา อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.2675953940179,100.23311736286place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 7 ต.ค. 2011 10 มี.ค. 2012 7 ต.ค. 2011 10 มี.ค. 2012 0.00
2 11 มี.ค. 2012 30 ม.ค. 2013 11 มี.ค. 2012 30 ม.ค. 2013 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (188,680.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

-เกษตรกรเกิดการเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาวะที่ดีตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง -ชุมชนมีแผนสุขภาพที่เกิดขึ้นจากชุมชนเอง

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการทำเกษตรแบบปลอดสารพิษ

-ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจยอมรับและนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อพื้นที่การเกษตรของตนเองอย่างสูงสุด ร้อยละ 80 -เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมัก-ปุ๋ยชีวภาพและการการกำจัดแมลงโดยชีววิธีเกิดเจตคติที่ดีต่อการทำเกษตรอินทรีย์และเข้าใจในการดำเนินงานสามารถ

3 เพื่อสร้างครอบครัวเรือนต้นแบบด้านเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย

-ชุมชนมีความมั่นคงทางด้านอาหาร ปลอดภัย ไร้สารพิษโดยมีแปลงปลูกพืชผักสวนแบผสมผสาน -เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถอยู่ได้อย่างมีความสุข

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมชี้แจงแนวคิดสุขภาวะที่ดี

2.ค้นหาตัวอย่างที่ดีๆที่แสดงถึงแนวคิดสุขภาวะ 3.เวทีทำแผนสุภาพชุมชนตามแนวคิดสุขภาวะที่ดีตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

3.เวทีทำแผนสุขภาพชุมชน

4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ปรับเปลี่ยน ปรับลด งดพฤติกรรมเสี่ยง พอเพียงในวิถีชีวิต” 9 อ.

5.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “อาหารกับการสร้างเสริมสุขภาพ”

  1. แลกเปลี่ยนรู้(ประสบการณ์) การจัดทำบัญชีครัวเรือนในแนวทาง 9 อ.สร้างสุขภาวะ

7.อบรมเชิงปฏิบัติการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้(ประสบการณ์) การทำน้ำหมัก+ปุ๋ยหมักชีวภาพ สูตรต่างๆและเทคนิคการปลูก/ตอนกิ่งพันธุ์ต่างๆการทำแก๊สชีวภาพและการทำน้ำยาเอนกประสงค์                       -อบรมเชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้(ประสบการณ์) ทำน้ำหมักชีวภาพ สูตรต่างๆโดยให้กลุ่มเป้าหมายมาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ) (เชิญวิทยากรมา 1 ครั้ง ฝึกทำกันเอง 2 ครั้งและแจกจ่ายให้กับเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายนำไปใช้)               -อบรมเชิงปฏิบัติและ(ประสบการณ์)การผลิตปุ๋ยหมักชีวภาพโดยให้กลุ่มเป้าหมายมาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติและนำไปใช้ในแปลงของกลุ่มเป้าหมาย(เชิญวิทยากรมา 1 ครั้ง ฝึกทำกันเอง 2 ครั้งและแจกจ่ายให้กับเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายนำไปใช้)

              -เวทีปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคการปลูก/ตอนกิ่งพันธุ์ต่างๆ (การตอนกิ่งมะละกอ,การทาบกิ่ง,เสียบยอดมะนาวจากต้นมะขวิด ฯ)

              -เวทีปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิตแก๊สชีวภาพ(เชิญวิทยากรมา 1 ครั้ง ฝึกทำกันเอง 1 ครั้ง)

              -เวทีปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำน้ำยาเอนกประสงค์(โดยเชิญวิทยากรมา 1 ครั้งและฝึกการทำเองจนเกิดความชำนาญ จำนวน 1 ครั้ง)แจกจ่ายให้กับเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายนำไปใช้)

8.วางแผนการผลิตในแปลงเกษตรระดับครัวและชุมชน     -รับสมัครผู้สนใจร่วมการผลิตและมีพื้นที่     -สำรวจความพร้อมของพื้นที่ว่าเหมาะสมกับการผลิตหรือไม่     -ประชุมเพื่อวางแผนการปฏิบัติเป็นครอบครัวต้นแบบด้านอาหารปลอดภัย

9.รณรงค์ปลูกพืชพื้นบ้าน ไร้สารพิษ       -แผ่นป้ายไวนิล/แผ่นพับและประชาสัมพันธ์

10.กิจกรรมยกย่องครอบครัวต้นแบบอาหารปลอดภัย “เดินตามรอยพ่อโดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” รื้อฟื้นภูมิปัญญาท้องถิ่น

  1. สรุปงาน /ติดตามและประเมินผล
    -ค่าจัดทำเอกสาร/ค่าวัสดุ
    -สรุปรวบรวมองค์ความรู้(เป็นรูปเล่ม)การทำน้ำหมัก+ปุ๋ยหมักชีวภาพ สูตรต่างๆและเทคนิคการปลูก/ตอนกิ่งพันธุ์ต่างๆการทำแก๊สชีวภาพและการทำน้ำยาเอนกประสงค์ -การติดตามประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม             -ผู้เข้าร่วม  -คณะทำงาน    -ประเมินภายใน             -ผู้ได้รับผลประโยชน์ในการดำเนินการ จำนวน 5 ครั้งๆ
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2012 13:26 น.