แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 55-01868
สัญญาเลขที่ 55-00-0955

ชื่อโครงการ พัฒนาอาชีพเกษตรผสมผสานเพื่อเพิ่มรายได้บ้านกะโสม
รหัสโครงการ 55-01868 สัญญาเลขที่ 55-00-0955
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 ...นายอภิวัฒน์. ไชยเดช. นางสุดา ไพศาล
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 ...นางกำไล. สมรักษ์
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 3 มีนาคม 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 4 กรกฎาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ...นายสัจจา. พิพัฒน์ผล ...161 หมู่ที่ 4 ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ...089-5881800
2 ...นางพวงน้อย. พิพัฒน์ผล ...161 หมู่ที่ 4 ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ...080-8859321
3 ...นายสายันต์ เมฆาภาค ...212 หมู่ที่ 4 ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ...080-7172203

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องเกษตรผสมผสานบนพื้นฐานทรัพยากรของชุมชน

1.1 ครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 20 1.2 ครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการทำเกษตรผสมผสานกันทุกเดือน ร้อยละ 80

2.

เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการ มีรายได้เพิ่มจากการทำบัญชีครัวเรือน และเกษตรผสมผสาน เกิดอาหารปลอดภัยที่ผลิตขึ้นเองในชุมชน

2.1 มีปุ๋ยหมัก  ปุ๋ยพืช  และดินปลูกใช้ และจำหน่าย ร้อยละ 20 ของครัวเรือนในหมู่บ้านทั้งหมด 2.2 มีผลิตภัณฑ์จากแป้งสาคูและหัตกรรมจากสาคู  ไว้กิน  ใช้  และจำหน่าย ร้อยละ 20 ของครัวเรือนในหมู่บ้านทั้งหมด 2.3 มีการปลูกผักพื้นบ้าน  พืชสมุนไพร และพืชใช้สอย  ใช้กิน  และจำหน่าย ร้อยละ 20 ของครัวเรือนในหมู่บ้านทั้งหมด 2.3 มีการรวมกลุ่มเกษตรผสมผสานดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 2 กลุ่ม

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การขยายพันธ์พืชพื้นบ้าน สมุนไพร และไม้ใช้สอยi

สมาชิกครัวเรือน ในชุมชน 30 ครัวเรือน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สมาชิกครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือนมาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการขยายพันธ์พืชพื้นบ้าน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน มาร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการขยายพันธุ์พืชพื้นบ้าน ยอดเขลียง เป็นพืชพื้นบ้านที่มีอยู่ในชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สมาชิกครัวเรือนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการขยายพันธุ์กิ่งผักเขลียง จำหน่ายทั้งในและนอกชุมชน

กิจกรรมย่อย: สมาชิกร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการจัดทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยพืชสดi

สมาชิกครัวเรือน 30 ครัวเรือน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สมาชิกครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือนมาร่วมแลกเปลี่ยนการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยพืชสด

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือนเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการทำปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยหมัก มาใช้เองและจำหน่ายในชุมชน โดยใช้วัสดุในพื้นมี่ ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เกิดครัวเรือนที่มีความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และร่วมมือกันทำปุ๋ยเพื่อใช้เองและจำหน่ายในชุมชนในราคาที่ต่ำกว่าท้องตลาดมาก

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
น้ำยาเร่งราก

ในการขยายพันธุ์กิ่งเขลียงซึ่งเป็นพืชพื้นบ้าน เป็นพืชผักทางเศรษฐกิจ จำเป็นต้องใช้น้ำยาเร่งราก หากซื้อจากท้องตลาดราคาสูงมาก ทางกลุ่มทำน้ำยาเร่งรากข้นมาใช้เอง

ประหยัดค่าใช้จ่าย ในการน้ำยาเร่งรากจากท้องตลาด สามารถนำไปใช้ในกิจกรรมกลุ่ม และขยายความรู้สู่ชุมชนอื่น

น้ำยารักษาหน้ายาง

ในการกรีดยาง โดยเฉพาะในฤดูฝน มักมีดชื้อราเกิดขึ้นทำให้เดิการติดเชื้อราในต้นยางพาราที่เกษตรกรกรีด เกษตรกรมักนิยมใช้น้ำยารักษาหน้ายาง เพื่อทำให้หน้ายางสะอาด ไม่ขึ้นรา ดังนั้นในหมู่บ้านกะโสมมีอาชีพ การกรีดยาง จึงคิดค้นน้ำยารันกษาหน้ายางออกมาใช้ เป็นการระหยัดและขยายควาารู้สู่พื้นที่อื่น ๆ

สมาชิกจำนวน 40 ครัวเรือนใช้น้ำยารักษาหน้ายางที่ผลิตขึ้นมาเอง เป็นการประหยัดค่าใช้จ่าย

 

 

 

 

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
ผลิตภัณฑ์แป้งสาคู

นำต้นจาก หรือต้นสาคู เป็นพืชท้องถิ่น มาสกัดเอาแป้งสาคู ใว้ใช้ และจำหน่าย

มีแป้งสาคูใช้ในครัวเรือน และจำหน่ายให้กับเพื่อนบ้านและชุมชนอื่น

 

 

 

 

 

 

 

 

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
...นางพวงน้อย พิพัฒนผล 161 หมู่ี่ 4 ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง

การทำน้ำยาเร่งราก โดยใช้ส่วนผสมของน้ำส้มควันไม้ ลดมลพิษรักษาสิ่งแวดล้อม

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ผลิตภัณฑ์น้ำยาเร่งรากด้วยตนเอง และน้ำยารักษาหน้ายางด้วยตนเอง

สร้างรายงานโดย Peeraya Jindamanee