directions_run

โครงการหมู่บ้านสมุนไพรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เขารัดปูน ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านสมุนไพรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เขารัดปูน ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-00994
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 กรกฎาคม 2012 - 19 กรกฎาคม 2013
งบประมาณ 212,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายไพโรจน์ ทองมณี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 2 บ้านรัดปูน ต. เชิงแส อ. กระแสสินธิ์ จ.สงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.6161017899544,100.34996176362place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ก.ค. 2012 15 มี.ค. 2013 20 ก.ค. 2012 15 มี.ค. 2013 0.00
2 16 มี.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 16 มี.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (212,000.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างแรงจูงใจแก่ชาวบ้านในการรักชุมชนและอนุรักษ์เขารัดปูน
  1. ร้อยละ 80 ของคณะทำงาน/ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจภาพรวมและเป้าหมายของโครงการ
  2. ร้อยละ 90 ของประชาชนในหมู่บ้านเขารัดปูนได้รับการเสริมสร้างและปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรต้นไม้บนเขารัดปูนร่วมกัน
  3. เกิดคณะทำงานโครงการที่มีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วน
  4. ประชาชนในพื้นที่บ้านรัดปูนเข้าร่วมโครงการ จำนวนร้อยละ 80 ของ  ครัวเรือน
2 เพื่อสร้างรูปแบบการฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรในหมู่บ้านและชุมชนอย่างยั่งยืน
  1. เกิดฐานข้อมูลทะเบียนพันธ์ไม้ที่ปลูกบนเขารัดปูน
  2. เกิดคณะทำงานเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร  1  ชุด
  3. เกิดการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
  4. เกิดกติกาของชุมชนเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรที่เขารัดปูน
  5. เกิดนโยบายสาธารณะด้านการอนุรักษ์เขารัดปูนเสนอต่อเทศบาลตำบลเชิงแส
3 เพื่อส่งเสริม – สนับสนุนให้มีการปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มปริมาณต้น ไม้– เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้มากขึ้น
  1. เกิดธนาคารพันธุ์ไม้พื้นบ้านบนเขารัดปูน จำนวน 1 แห่ง
  2. เกิดการปลูกพืชพันธุ์ไม้พื้นบ้านบนเขารัดปูน จำนวน 1,000 ต้น
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กิจกรรมที่ 1 เวทีนำเสนอภาพรวมของโครงการ

  • การนำเสนอภาพรวมโครงการ
  • คัดสรรคณะทำงานโครงการ (แกนนำกลุ่มต่างๆ ที่เข้าร่วมโครงการทำความเข้าใจร่วมกันสรรหาคณะทำงานที่มาจากกลุ่มต่างๆ จำนวน 10 คน (กลุ่มละ 1 คน)
  • จัดทำแผนงานและแบ่งหน้าที่รับผิดชอบแก่คณะทำงาน
  • จัดทำแนวทางการประเมินผลโครงการ

กิจกรรมที่ 2 การฟื้นฟูและร่วมกันอนุรักษ์เขารัดปูน

  • จัดทำฐานข้อมูลทะเบียนพันธุ์ไม้ที่เขารัดปูนและจัดตั้งธนาคารต้นไม้
  • การร่วมกันบวชป่าและปลูกพันธุ์ไม้พื้นบ้านบนเขารัดปูน
  • การบำรุงและดูแลรักษาต้นไม้พื้นบ้านที่ปลูกอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ 3 พัฒนาเส้นทางความรู้ด้านสมุนไพร

  • อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเส้นทางเดินสมุนไพรบนเขารัดปูน
  • จัดทำแผนที่ทำมือเส้นทางเดินสมุนไพรบนเขารัดปูน

กิจกรรมที่ 4 สร้างกติกาของชุมชนเพื่อการอนุรักษ์เขารัดปูน

  • จัดทำกติกาชุมชนโดยการมีส่วนร่วม
  • ประกาศกติกาของชุมชนบ้านรัดปูนต่อหน่วยงานของรัฐและสาธารณะชน

กิจกรรมที่ 5 การสรุปและถอดบทเรียนโครงการ

  • จัดเวทีสรุปการทำงานที่ผ่านมา
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ย. 2012 09:32 น.