directions_run

อาหารดีสุขภาพแข็งแรง สู่ชุมชนน่าอยู่บ้านควนขี้แรด

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อาหารดีสุขภาพแข็งแรง สู่ชุมชนน่าอยู่บ้านควนขี้แรด
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01818
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013
งบประมาณ 193,560.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชยานันต์ หมัดจันทร์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 7 ตำบล ชะรัด อำเภอ กงหรา จังหวัด พัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.396896889731,99.953057861328place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2012 15 มี.ค. 2013 1 ต.ค. 2012 15 มี.ค. 2013 0.00
2 16 มี.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 16 มี.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (193,560.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรุ้ในการผลิตและบริโภคที่ปลอดภัยในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ให้มีกลไกเฝ้าระวังการบริโภคอาหารและมีมาตรการของชุมชน

1.ประชาชนในหมู่บ้านข้าร่วมเรียนรู้ 80ครัวเรือน นักเรียนโรงเรียน  130  คน ตัวแทนพ่อค้า  10 คน ตัวแทนจากเทศบาล  2 คน สมาชิกทำนาโยน  อย่างน้อย 10คน อสม.20คน กลุ่มแม่บ้าน 10คน 2.มีทีมคณะทำงานร่วมกัน จำนวน 1 ทีมคือ อสม20 คน  มีเจ้าหน้าที่จาก ร.พ.สต 2คน มีวิทยกรจากส.น.ง เกษตร 1คนให้แกนนำทำงานปลูกผัก เช่น ผักเหมียง  ผักกูด  ผักหวานป่า เพื่อกินเอง  ขายในหมู่บ้าน และนอกหมู่บ้าน มีการรณรงค์ปลูกต้นไม้ริมทาง ริมคลองที่กินได้ และสร้างรายได้ 1มีมาตรการของชุมชนในการแก้ไขปัญหาอย่างน้อย 1 มาตรการ  เช่นห้ามขายของที่สารปนเปรื้อน 2 มีแผนกิจกรรมเฝ้าระวัง 1 แผนโดยมีแกนนำหมู่บ้าน17 คนตัวแทนนักเรียน 30คน

4 มีแผนกิจกรรมการเฝ้าระวัง จำนวน 1 แผน

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

๑.ใช้แบบสำรวจข้อมูลเก็บข้อมูลการกินอาหารการ ปลูกพืช และข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มเติมโดยแกนนำ ๑.๑.ประชุมแกนนำเพื่อออกแบบการสำรวจข้อมูล ๑.๒ ดำเนินการลงพื้นที่สำรวจข้อมูล ๒.จัดเวทีคืนข้อมูลชุมชน ข้อมูลจากการสำรวจเพิ่มเติม และรับสมัครครัวเรือนนำร่อง -เชิญผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมในเวทีคืนข้อมูลของชุมชน -จัดประชุมและเชิญวิทยากร จาก รพ.กงหรา, สสจ.พัทลุง -รับสมัครครัวเรือนนำร่องเข้าร่วมโครงการ ๔.จัดอบรมเรื่องการส่งเสริมให้ความรู้การคัดแยกขยะ,การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ,การปลูกผักปลอดสารพิษ,การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่ปลอดภัย หลังจากอบรมแล้วให้แกนนำและครัวเรือนนำร่องดำเนินการไปคัดแยกขยะ จัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพ และปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนของตัวเองและมีคณะกรรมการซึ่งได้รับการคัดเลือกจากที่ประชุม ลงไปติดตามประเมินผล ๕.การปรับปรุงร้านค้า/ร้านชำเป็นร้านน่าซื้อ ๕.๑ ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทางและกฎกติการ่วมกันในการจัดร้านค้า/ร้านชำของหมู่บ้านให้เป็นร้านน่าซื้อ และวางแผนการเฝ้าระวังเรื่องอาหารในชุมชน และให้มีการขายผักปลอดสารพิษในร้านค้า/ร้านชำ ๕.๒ อบรมให้ความรู้การใช้ชุดทดสอบอาหารปนเปื้อน ที่สามารถทำได้ ๔ ชนิด (ฟอร์มารีน  สารฟอกขาว  สารบอเร็กและสารกันเชื้อรา) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังเรื่องอาหารในชุมชน ๕.๓ ดำเนินการเฝ้าระวังอาหารในร้านค้า/ร้านชำ โดยการสุ่มตรวจตัวอย่างอาหาร -ประชาสัมพันธ์การเฝ้าระวังอาหารในร้านค้า/ร้านชำ -นำแผนเฝ้าระวังอาหารเข้าแผนชุมชน เทศบาล หมู่บ้าน ๖.จัดประกวดบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ
- ประกวดแปลงผัก -ประกวดครอบครัวต้นแบบ

๖.๑ ประชุมเพื่อกำหนดรูปแบบการประกวด กำหนดเกณฑ์ในการประกวด และแต่งตั้งคณะกรรมการ ๖.๒ ดำเนินการคัดเลือกบุคคลและครอบครัวต้นแบบด้านสุขภาพ ๗.ตรวจเลือดเพื่อหาระดับสารเคมีในเลือด ๘.สรุปบทเรียนและคืนข้อมูลให้กับชุมชน -นำเสนอเข้าแผนชุมชนและเสนอเป็นนโยบายของชุมชน ๙.ประชุมคณะทำงานและที่ปรึกษาโครงการเพื่อวางแผน/หนุนเสริมครัวเรือน/ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง จำนวน ๑๒ ครั้ง ๑๐.ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการ -จัดนิทรรศกาลผลการดำเนินงานโครงการ

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ย. 2012 09:32 น.