directions_run

โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่องรอยศิลปะของชุมชน ขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01836
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013
งบประมาณ 168,900.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางก่อเดียะ นิ้วหลี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านมั่นคงบ้านทุ่งพัฒนา หมู่ที่ 5 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.8925560228074,99.82448348999place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2012 28 ก.พ. 2013 1 ต.ค. 2012 28 ก.พ. 2013 67,560.00
2 1 มี.ค. 2013 31 ส.ค. 2013 1 มี.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 84,450.00
3 1 ก.ย. 2013 31 ต.ค. 2013 16,890.00
รวมงบประมาณ 168,900.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 -เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดูแลและอนุรักษ์ ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านอย่างยั่งยืน
  1. ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจความเข้มแข็งและมีจิตสำนึกผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโดยการอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน
2 -เพื่อพัฒนาและยกระดับศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน (ปัญจะสิละ) ให้เป็นหลักสูตรคู่บ้านสืบทอดแก่คนรุ่นหลังสืบไป
  1. มีแกนนำเยาวชน คนรุ่นใหม่ในโรงเรียนและในชุมชน

  2. หลักสูตรศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน( ปัญจะสิละ)

3 -เพื่อให้เป็นศูนย์รวมของการสร้างสุขสร้างความสามัคคีของชุมชนโดยผ่านศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน ( ปัญจะสิละ)
  1. มีศูนย์กลางของการถ่ายทอด ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ( ปัญจะสิละ)
  2. มีทีมทำงานที่มีใจอาสาที่จะอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ( ปัญจะสิละ)
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมทำความเข้าใจกับคณะทำงาน (20 คน) 2.เวทีสังเคราะห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญจะสีละเป็นการทำให้คนในชุมชนโดยเฉพาะแกนนำ 30 คน  มีความตระหนักและกำหนดคุณค่าความสวยงามมีทั้งเรื่องความชื่นชมและการร่วมกันของความสามัคคีของคนในชุมชนเป็นตัวดึงดูดคนทุกวัยมารวมกลุ่มทำกิจกรรม 3.พัฒนาหลักสูตรชุมชน (20 คน) 4.สนับสนุนพัฒนาแกนนำเยาวชนรุ่นใหม่  จำนวน  15 คู่  (30  คน)เป็นกลุ่มทดลองที่ผ่านการคัดเลือกในชุมชนตามความสมัครใจมาทำกิจกรรม 5. สนับสนุนห้องเรียนชุมชนเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนโดยชุมชนเป็นเจ้าของโดยใช้โรงเรียนหลังเก่าเป็นแหล่งศูนย์รวมหลัด 6.เวทีนำเสนอผลการดำเนินงานต่อสาธารณะตลาดศิลปะพื้นบ้าน (100 คน)

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 พ.ย. 2012 09:50 น.