directions_run

โครงการการจัดการป่าชุมชนบ้านควนยูงแบบมีส่วนร่วม

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการจัดการป่าชุมชนบ้านควนยูงแบบมีส่วนร่วม
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01850
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013
งบประมาณ 211,210.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ วิภาดา วาสินธุ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านควนยูง หมู่ที่4 ตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ละติจูด-ลองจิจูด 9.01466565128,99.3657244951place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2012 28 ก.พ. 2013 1 ต.ค. 2012 28 ก.พ. 2013 0.00
2 1 มี.ค. 2013 31 ต.ค. 2013 1 มี.ค. 2013 31 ต.ค. 2013 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (211,210.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสรุปบทเรียนและสร้างรูปแบบการจัดการป่าชุมชนอย่างมีระบบ
  • เกิดรูปแบบการจัดการป่าควนยูง การใช้ประโยชน์จากป่าชุมชน
2 เพื่อส่งเสริมการจัดการป่าชุมชนบ้านควนยูงแบบมีส่วนร่วม
  • เกิดอาสาสมัคร องค์กร เครือข่าย ดูแล ใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
3 เพื่อสร้างหลักสูตรท้องถิ่นด้านการจัดการป่าชุมชน
  • ได้องค์ความรู้ในการจัดการป่าชุมชน
  • ได้หลักสูตรด้านการจัดการป่าชุมชน
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เวทีสรุปบทเรียนการทำงานกับป่าชุมชน
  2. เวทีทำความเข้าใจสถาณการณ์ป่าชุมชนบ้านควนยูง
  3. เยาวชนเรียนรู้เรื่องป่าชุมชนจากผู้ใหญ่ในชุมชน
    • พัฒนาอาสาสมัครและเยาวชนอนุรักษ์ป่าสู่การเป็นผู้นำทางในการเดินป่า
  4. เวทีประชาคมร่วมสร้างกฏกติกาการจัดการป่าชุมชน
  5. ประชาสัมพันธ์งานและรับสมัครอนุรักษ์ป่าเพิ่ม
  6. พัฒนาศักยภาพเยาวชนให้เป็นนักประชาสัมพันธ์
  7. เผยแพร่ข่าวสารการทำงานและกฏกติกาป่าชุมชนที่จัดทำขึ้น
  8. เวทีทำความเข้าใจกระบวนการเก็บข้อมูล
  9. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลทรัพยากรในป่าชุมชน
  10. จัดทำฐานข้อมูลทรัพยากร พันธุ์พืชหายาก  พันธุ์พืชสมุนไพรและ       พันธุ์สัตว์ในป่าชุมชน
  11. ส่งเสริมการขยายพันธุ์พืชหายาก พันธุ์สมุนไพร
    • กิจกรรมเยาวชนรักษ์ป่า
    • กิจกรรมวันรักษ์ป่าชุมชน
  12. ประชุมคณะทำงาน
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 พ.ย. 2012 10:43 น.