stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ครัวเรือนสุขภาพดีตามวิถีควนตราบ
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01821
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556
งบประมาณ 120,700.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนงนภัส เดโช
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านควนตราบ หมู่ที่ 4 ตำบลควนหนองคว้า อำเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.0609708688935,99.90773925785place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2555 8 มี.ค. 2556 1 ต.ค. 2555 8 มี.ค. 2556 0.00
2 9 มี.ค. 2556 31 ต.ค. 2556 9 มี.ค. 2556 31 ต.ค. 2556 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (120,700.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกิดครัวเรือนสุขภาพดีวิถีชีวิตบ้านควนตราบโดยใช้การกำหนดกติกาของหมู่บ้าน

1) ร้อยละ 80 ของครัวเรือนที่เข้าร่วมปฎิบัติตามข้อตกลงของการเป็นครัวเรือนสุขภาพดีวิถีชีวิตบ้านควนตราบ 2) ร้อยละ 80 ของสมาชิกกลุ่มสามารถพัฒนาตนเองให้มีวิถีชีวิตแบบบ้านควนตราบได้ 3) มีแกนนำครัวเรือนสุขภาพดีวิถีชีวิตบ้านควนตราบเป็นวิทยากร (ปากต่อปาก) 20 ครัวเรือน

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมงาน มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบของโครงการ
  2. สมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการโดยการชักชวนด้วยความสมัครใจจำนวน 50 ครัวเรือน
  3. จัดเวทีเล่าประสบการณ์ การเป็นครัวเรือนต้นแบบที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 เรื่องการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของสมาชิกให้สมาชิกโครงการได้รับทราบ ซึ่งใช้กติกาชุมชน 6 ข้อ คือ     -  เข้าวัดปฎิบัติธรรมอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง     -  ปลูกผักปลอดสารพิษกินเองอย่างน้อย 5 ชนิด     -  ทำปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เองในครัวเรือน     -  รับประทานข้าวกล้องสัปดาห์ละ 3 วัน     -  ออกกำลังกายอย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์     -  ทำบัญชีรายรับ รายจ่าย
  4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การรับประทานข้าวกล้อง เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างข้าวขาวและข้าวกล้อง
  5. จัดเวทีกินข้าวกล้องลดโรคโดยการเปรียบเทียบการรับประทานข้าวกล้องผสมข้าวขาว 25 ครัวเรือน และอีก 25 ครัวเรือนรับประทานข้าวกล้องอย่างเดียว แล้วนำความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมาแลกเปลี่ยนกันทั้งสองกลุ่ม จำนวน 3 ครั้ง และเชิญ ผู้อาวุโสของชุมชนที่มีประสบการณ์ถึงวิธีการสีข้าวซ้อมมือในสมัยก่อน
  6. จัดเวทีเรียนรู้ 3 ครั้ง     -  ครั้งที่ 1 แนะนำวิธีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ วิธีการปลูกและดูแลผัก หลังจากการสาธิตให้ตัวแทนสมาชิกออกมาสาธิตย้อนกลับ     -  ครั้งที่ 2 แนะนำการทำบัญชีครัวเรือนให้สมาชิกได้ปฎิบัติได้อย่างถูกต้อง     -  ครั้งที่ 3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างตัวแทนกลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ กลุ่มสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ นักวิชาการการเกษตร ในการใช้ปุ๋ยเคมีกับปุ๋ยหมักชีวภาพ และทำข้อตกลงร่วมกันจะนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้แล้วมีการติดตามโดยกรรมการทุก 3 เดือน
  7. จัดเวทีแอโรบิคลดโรคภัยโดยให้สมาชิกออกแบบท่าเต้นกันเอง จำนวน 15 ท่า และจะนำมาประกอบท่าเต้น ณ.สนามออกกำลังกายขอชุมชน
  8. จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานทุก 3 เดือน
  9. จัดเวทีสรุปผลการติดตามเพื่อให้สมาชิกได้รับทราบข้อมูล
  10. จัดประกวดครัวเรือนสุขภาพดีตามวิถีชีวิตบ้านควนตราบ และยกย่องเชิดชูครัวเรือนที่ปฏิบัติตามกติกาชุมชนได้อย่างยอดเยี่ยม
  11. ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ
  12. จัดทำเอกสารเพื่อเผยแพร่ สรุปผลโครงการฉบับสมบูรณ์
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 พ.ย. 2555 14:56 น.