directions_run

โครงการชุมชนน่าอยู่เรียนรู้เรื่องการจัดการน้ำ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนน่าอยู่เรียนรู้เรื่องการจัดการน้ำ
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 55-01870
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013
งบประมาณ 175,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเกษร ตุ่นคง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ม.5 ตำบลบางจาก อำเภอเมื่อง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80330
ละติจูด-ลองจิจูด 8.388126092254,100.04160830947place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2012 15 มี.ค. 2013 1 ต.ค. 2012 15 มี.ค. 2013 0.00
2 16 มี.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 16 มี.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (175,000.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชุมชนมีน้ำใช้ในการเกษตรอย่างเพียงพอ

1.คนมีความตระหนักถึงความสำคัญของพื่นที่การเกษตรและน้ำเพิ่มขึ้น 50% 2.มีการวางแผนการใช้น้ำอย่างชัดเจน 3.ชุมชนมีการปฏิบัติการจัดน้ำ เก็บน้ำเพิ่มขึ้น 50%

2 เพื่อสร้างกลุ่มให้มีการเรียนรู้ด้านการเกษตร

1.กลุ่มปาล์มมีการเรียนรู้เพิ่มขึ้น20% 2.กลุ่มมะพร้าวมีการเรียนรู้เพิ่มขึ้น 20% 3.กลุ่มนาข้าวมีการเรียนรู้เพิ่มขึ้น20% 4.กลุ่มน้ำมีการเรียนรู้เพิ่มขึ้น20%

3 .เพื่อสร้างกลุ่มให้มีการเรียนรู้ด้านการเกษตร

1.มีการนำวัสดุในชุมชนมาทำเป็นปุ๋ย25% 2.มีการนำปุ๋ยหมักมาใช้ในชุมชน25% 3.ลดขยะในชุมชน50% 4.ลดต้นทุนจากการใช้ปุ๋ยเคมี25%

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

กิจกรรมที่ 1 การเตรียมการ -การประชาสัมพันธ์โครงการ ประชุมพบประแกนนำกลุ่มเป้าหมายผู้ใหญ่บ้าน  สมาชิก อบต.  คณะกรรมการหมู่บ้าน  ปราชญ์ชาวบ้าน  ตัวแทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง  จำนวน 70 คน

กิจกรรมที่ 2 การประเมินลดค่าใช้จ่ายและต้นทุน

กิจกรรมที่ 3 ประชุมพบประเสวนากิจกรรมเพื่อขอความร่วมมือสำรวจข้อมูลพื้นที่ทำการเกษตรและปฏิทินการใช้น้ำและประปา

กิจกรรมที่ 4  การประเมินลดค่าใช้จ่ายและต้นทุน

กิจกรรมที่ 5  การขุดลอกคูคลองแบ่งกลุ่มเกษตรกร  พร้อมด้วยผู้นำหมู่บ้านและผู้นำท้องถิ่น

กิจกรรมที่ 6  การประเมินลดค่าใช้จ่ายและต้นทุน

กิจกรรมที่ 7 การถอดบทเรียนโดยใช้ประเด็นคำถาม

กิจกรรมที่ 8 การเรียนรู้การปลูกพืชในพื้นที่

กิจกรรมที่ 9  การประเมินลดค่าใช้จ่ายและต้นทุน

กิจกรรมที่ 10 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพโดยการสร้างกระบวนการเรียนรู้ตั้งประเด็นคำถามและให้กลุ่มช่วยกันคิด

กิจกรรมที่ 11  การประเมินค่าใช้จ่ายและต้นทุน

กิจกรรมที่  12การฝึกปฏิบัติการทำน้ำหมักชีวภาพการเรียนรู้กับวิทยากรการจัดทำปุ๋ยหมัก

กิจกรรมที่ 13  การประเมินลดค่าใช้จ่ายและต้นทุน

กิจกรรมที่ 14 การถอดบทเรียนโดยใช้ประเด็นคำถาม

กิจกรรมที่ 15 การเตรียมอุปกรณ์

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 พ.ย. 2012 15:00 น.