directions_run

โครงการเยาวชนเครือข่ายโรงเรียนปริกอาสาทำดีตามรอยเท้าพ่อ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนเครือข่ายโรงเรียนปริกอาสาทำดีตามรอยเท้าพ่อ
ภายใต้โครงการ สำนักงาน สช. จัดเวทีพัฒนานโยบายสาธารณะ ๑๔ จังหวัดภาคใต้
รหัสโครงการ 55-00871
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2012 - 31 ธันวาคม 2013
งบประมาณ 181,820.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรอปิอะ โต๊ะหีม
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวเยาวลักษณ์ ศรีสุขใส ,นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนบ้านปริก(กุก่องวิทยาคาร)
ละติจูด-ลองจิจูด 6.7737162387549,100.45838356022place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2012 26 มิ.ย. 2013 1 ธ.ค. 2012 26 มิ.ย. 2013 72,720.00
2 1 ก.ค. 2013 31 ธ.ค. 2013 1 ก.ค. 2013 31 ธ.ค. 2013 90,900.00
3 1 พ.ย. 2013 31 ธ.ค. 2013 15,334.43
รวมงบประมาณ 178,954.43

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (178,954.43 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (181,820.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เยาวชนสามารถพัฒนาทักษะทางสังคม ผ่านกระบวนการเรียนรู้และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยวิถีชีวิตชาวค่ายได้อย่างมีความสุข
  • เยาวชนในเครือข่ายโรงเรียนปริก ร้อยละ 80 ของจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะทางสังคม มีการเรียนรู้การอยู่ร่วมกับผู้อื่นผ่านดการเข้าค่าย เช่น ทักษะในการเข้าสังคม ทักษะการเป็นผู้นำ
2 เพื่อให้เยาวชนสามารถอธิบายลักษณะเด่นของวิถีชีวิตในชุมชน ซึมซับกับวิถีชีวิตของคนตำบลปริก
  • เยาวชนร้แอยละ 80 ของจำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในวิถีชีวิตของคนในตำบลปริกและซึมซับกับวิถีชีวิตของคนปริก เช่น วิถีชีวิตในการประกอบอาชีพทำให้เยาวชนเกิดความหวงแหนในบ้านเกิด
3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้ ตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ
  • มีกลุ่มนักอนุรักษ์น้อยในเครือข่ายโรงเรียนปริกเห็นปัญหาและซึมซับกับวิถีชีวิตคนในตำบลปริก
4 เพื่อให้เยาวชนได้ประมวลประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากค่าย นำมากำหนดแนวทางที่เป็นไปได้จริง หรือออกแบบการทำงานภายใต้ศักยภาพของเยาวชนและการสนับสนุนจากโรงเรียนและครอบครัว
  • เกิดกิจกรรมที่เยาวชนเป็นผู้ออกแบบเองในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจพอเพียง
  • มีกลไกการทำงานของเยาวชนที่เป็นนักอนุรักษ์น้อย
5 ติดตามและสนับสนุน ผลการดำเนินงานโครงการ

1.การจัดทำรายงานส่ง เช่น ส1,ส.2,ส.3 และเอกสารการเงิน ง.1,ง.2 ในแต่ละงวด

2.การเข้าร่วมประชุม ร่วมกับ สสส.และสจรส.มอ.หาดใหญ่ ร้อยละ 75  ในการประชุม

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ค่ายบูรณาการ เรียนรู้สิ่งแวดล้อม ทักษะทางสังคม และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  2. การลงพื้นมี่เพื่อศึกษาชุมชน
    • เยาวชนจะเข้าไปศึกษาในชุมชน เรียนรู้วิถีชีวิตประจำวันของชุมชน การประกอบอาชีพเพื่อวิเคราะห์
    • การสำรวจคลองปริก และคลองอู่ตะเภา
  3. เวทีสรุปบทเรียนการจัดค่าย
  4. จัดตั้งคณะทำงานนักอนุรักษ์น้อย
    • การคัดเลือกตัวแทนเยาวชนจากรงเรียน เป็นแกนนำหลักในการดูแลสิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจพอเพียง
  5. กิจกรรมตามรอยเท้าพ่อ ทำความดีจากที่นี่ส่งต่อถึงบ้าน
    • เป็นการออกแบบกิจกรรมตามศักยภาพเยาวชนโดยได้รับการสนับสนุนจากโรงเรียนและชุมชน
    • กิจกรรม นักอนุรักษ์น้อยที่น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้
  6. การติดตามและสรุปผลการดำเนินงาน เดือนละ 2 ครั้ง
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ม.ค. 2013 11:07 น.