directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาพ รู้เท่าทันไข้เลือดออก และมาลาเรีย

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ รู้เท่าทันไข้เลือดออก และมาลาเรีย
ภายใต้โครงการ สำนักงาน สช. จัดเวทีพัฒนานโยบายสาธารณะ ๑๔ จังหวัดภาคใต้
รหัสโครงการ 55-01541
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013
งบประมาณ 138,020.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพรทิพย์ ไทรสุวรรณ (โทร 081-4762526
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 5 บ้านปากด่าน ตำบลบางเหรียง อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา
ละติจูด-ลองจิจูด 8.5158780034013,98.639974594116place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2012 15 มี.ค. 2013 15 ต.ค. 2012 15 มี.ค. 2013 0.00
2 18 ม.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 18 ม.ค. 2013 30 ก.ย. 2013 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (138,020.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ทักษะ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู้เท่าทันโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย

ประชาชน ร้อยละ 80 มีความรู้ ทักษะ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู้เท่าทันโรคไข้เลือดออกและมาลาเรีย

2 เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง ในการเฝ้าระวังสุขภาพโดยชุมชนเอง โดยการสร้างชุมชนนำร่องปลอดลูกยุงลาย กับนวัตกรรม “กับดักลูกน้ำยุงลาย”

-มีเครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง ในการเฝ้าระวังสุขภาพโดยชุมชนเอง  1 ชุมชน -มีนวัตกรรม “กับดักลูกน้ำยุงลาย”

3 เพื่อให้ค่า CI ในชุมชนนำร่อง < 10

ค่า CI ในชุมชนนำร่อง ≤ 10

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการสร้างเสริมสุขภาพ รู้เท่าทันไข้เลือดออก ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 และซ้อมแผนการเกิดโรค ระยะเวลาประชุมอบรม 1 วัน
2.จัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง ในการเฝ้าระวังสุขภาพโดยชุมชนเอง โดยการสร้างชุมชนนำร่องปลอดลูกยุงลาย ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อลดจำนวนยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยการสร้างนวัตกรรม “กับดักลูกน้ำยุงลาย” ระยะเวลาประชุมอบรม 1 วัน

3.จัดอบรมเรื่องการสำรวจค่า HI ในชุมชนนำร่อง

4.ติดตามประเมินผลชุมชนนำร่องปลอดลูกยุงลายนวัตกรรม “กับดักลูกน้ำยุงลาย” ทุกวันศุกร์สุดท้ายของเดือน

5.สำรวจค่า HI ในชุมชนนำร่อง ทุกวันศุกร์สุดท้ายของเดือน

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2013 16:25 น.