directions_run

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนด้านพันธุ์ไม้ยืนต้น พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้านปลอดสารพิษ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนด้านพันธุ์ไม้ยืนต้น พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้านปลอดสารพิษ
ภายใต้โครงการ สำนักงาน สช. จัดเวทีพัฒนานโยบายสาธารณะ ๑๔ จังหวัดภาคใต้
รหัสโครงการ 56-00348
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2013 - 30 เมษายน 2014
งบประมาณ 193,370.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจารีย์ เวชพฤกษ์ไพบูลย์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง
พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านหนองชุมแสง หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านส้อง อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ละติจูด-ลองจิจูด 8.6187015732887,99.33975219725place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2013 30 มิ.ย. 2013 1 เม.ย. 2013 30 มิ.ย. 2013 85,000.00
2 1 ก.ค. 2013 28 ก.พ. 2014 1 ก.ค. 2013 28 ก.พ. 2014 80,000.00
3 1 มี.ค. 2014 30 เม.ย. 2014 28,370.00
รวมงบประมาณ 193,370.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้น พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้านหายากในชุมชน
  • เกิดแหล่งเรียนรู้ด้านการปลูก ขยายพันธุ์ไม้ยืนต้น พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้านในชุมชน
  • แหล่งเรียนรู้หรือครัวเรือนต้นแบบสามารถถ่ายทอดความรู้ด้านการปลูก การขยายพันธุ์ไม้ยืนต้น พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้าน ด้านการทำเกษตรแบบผสมผสาน หรือเกษตรแบบประณีตให้กับคนในชุมชนหรือผู้ที่สนใจได้
  • ชุมชนมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ยืนต้น มีพืชสมุนไพร และผักพื้นบ้าน เป็นแหล่งอาหารและยารักษาโรคที่อุดมสมบูรณ์
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนบริโภคผักพื้นบ้านปลอดสารพิษ และใช้สมุนไพรในการรักษาโรคเบื้องต้น
  • ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการปลูกผักพื้นบ้านบริโภคในครัวเรือนเพิ่มขึ้นอย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด
  • ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการปลูกสมุนไพรสำหรับรักษาโรคหรือแก้พิษเบื้องต้นเพิ่มขึ้นอย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด
3 เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาทำเกษตรแบบสมรม เกษตรแบบผสมผสาน หรือเกษตรปราณีต
  • ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการปลูกไม้ยืนต้นในที่ดินทำกิน ตามที่ว่าง หรือที่สาธารณะ รวมอย่างน้อยครัวเรือนละ 9 ต้น และร้อยละ 90 ของต้นไม้ที่ปลูกรอดตาย
  • มีครัวเรือนต้นแบบเป็นฐานการเรียนรู้ด้านการทำเกษตรแบบผสมผสานหรือเกษตรแบบประณีต
4 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ เพิ่มทักษะชีวิตวำหรับเด็กและเยาวชน
  • มีการรวมกลุ่มของคนในชุมชน อาทิ กลุ่มธนาคารต้นไม้ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเด็กและเยาวชนด้านการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ยืนต้น พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้าน
  • กลุ่มมีความเข้มแข็ง มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
5 เพื่อติดตามและสนับสนุนโครงการ
  • การทำรายงานกิจกรรม รายงานความก้าวหน้า รายงานการเงิน รายงานผลการดำเนินงานโครงการได้อย่างถูกต้อง ทันตามเวลา
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เวทีชี้แจงโครงการ (ปลูกต้นไม้ในใจคน)
  2. เรียนรู้ชนิดพันธุ์  ไม้ยืนต้น พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้านในชุมชน
  3. เพาะชำกล้าไม้และขยายพันธุ์พืช
  4. จัดหาพันธุ์กล้าไม้
  5. จัดทำฐานข้อมูลพันธุ์พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้านในชุมชน
  6. ธนาคารพันธุ์พืชชุมชน
  7. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  8. ร่วมรักษ์ป่าชุมชน
  9. เวทีสร้างความเข้าใจเรียนรู้การทำปุ๋ยอินทรีย์ และสมุนไพรไล่แมลง
  10. รณรงค์การบริโภคผักพื้นบ้าน
  11. ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และสมุนไพรไล่แมลง
  12. เรียนรู้การปลูกมะนาวในปล่องซีเมนต์ การปลูกผักพื้นบ้านและ สมุนไพรใกล้บ้าน
  13. เยี่ยมบ้านเพื่อนสมาชิกโครงการ
  14. คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบด้านการปลูก/เพาะขยายพันธุ์ไม้  ยืนต้น พืชสมุนไพร และผักพื้นบ้าน ด้านการทำเกษตรแบบผสมผสาน หรือเกษตรแบบประณีต
  15. เชิดชูครัวเรือนต้นแบบ
  16. กิจกรมขยะแลกผัก รักษ์สุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อม
  17. แลกเปลี่ยนเรียนรู้สุขภาวะชุมชนกับชุมชนเครือข่าย
  18. เวทีนำเสนอประสบการณ์การไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผลการดำเนินงานโครงการ
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2013 09:21 น.