directions_run

โครงการตามรอยวิถีชีวิตมุสลิม นำมาสู่ความพอเพียง ปี 2

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตามรอยวิถีชีวิตมุสลิม นำมาสู่ความพอเพียง ปี 2
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 56-00391
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2013 - 31 พฤษภาคม 2014
งบประมาณ 208,700.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพอตีเม๊าะ ล่อเต๊ะ 086-2941627
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ บ้านสนี ม.2 ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.5159079833038,100.83251953219place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2013 26 ต.ค. 2013 1 พ.ค. 2013 26 ต.ค. 2013 84,000.00
2 27 ต.ค. 2013 31 พ.ค. 2014 27 ต.ค. 2013 15 มิ.ย. 2014 104,700.00
3 1 เม.ย. 2014 31 พ.ค. 2014 20,000.00
รวมงบประมาณ 208,700.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตามรอยวิถีมุสลิมแก่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง

1.ร้อยละ 60 ของเยาวชนกลุ่มเสี่ยง มีการจดบันทึกสมุดบันทึกความดี ในการปรับเปลี่ยนแนวคิดด้วยการนำเอาหลักศาสนามาเป็นแนวทางดำเนินชีวิต

2.ร้อยละ 70 ของเยาวชนปรับเปลี่ยนแนวคิดเยาวชนเข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ


3.เกิดคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนสู่ชุมชนสุขภาวะที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน กลุ่มเยาวชนกลุ่มเสี่ยง หน่วยงานรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2 2.เพื่อสร้างทักษะให้เยาวชนกลุ่มเสี่ยงและประชาชนในบ้านสนีให้ดำรงชีวิตตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียง

1.เกิดเครือข่ายเยาวชนจัดทำแผนที่สุขภาวะของชุมชน

2.เกิดแผนที่สุขภาวะชุมชนของบ้านสนี

3 3.เพื่อให้เกิดกระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างผู้นำ ภาคีเครือข่าย และประชาชน ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน

1.ผู้นำ ภาคีเครือข่าย ตัวแทนองค์กรในชุมชนเข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ

2.เกิดแหล่งเรียนรู้ชุมชนต้นแบบตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียงอย่างน้อย 2 แห่ง

3.เกิดเครือข่ายอาสาสมัคร เพื่อป้องกัน เฝ้าระวัง ปัญหาเยาวชนในชุมชน

4 ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ โดยทีมสสส.และ สจรส.มอ.หาดใหญ่

1.การจัดทำรายงานส่ง เช่น ส1,ส.2,ส.3 และเอกสารการเงิน ง.1,ง.2 ในแต่ละงวด

2.การเข้าร่วมประชุม ร่วมกับ สสส.และสจรส.มอ.หาดใหญ่ ร้อยละ 75  ในการประชุม

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดตั้งคณะทำงานเพื่อการขับเคลื่อนที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาค ประชาชน ท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐในพื้นที่ - ประชุมคณะทำงานทุกเดือน

2.จัดประชุมแกนนำเยาวชนกลุ่มเสี่ยงตามหลักของศาสนาอิสลาม

3.อบรมเชิงปฏิบัติการ ภายใต้กรอบกิจกรรมเพื่อสุขภาพเยาวชนกับการใช้ชีวิตตามรอยวิถีชีวิตมุสลิม  ไม่พึ่งพายาเสพ ติด

4.สำรวจแผนที่สุขภาวะ
5.กิจกรรมปฏิบัติการชุมชน อนุรักษ์ภูมิปัญญา สู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน  2ครั้ง

6.พัฒนาหลักสูตรด้านเศรษฐกิจพอเพียง ตามวิถีมุสลิม

7.ถอดบทเรียนแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ
                                                                                                                                                                                                                            8.กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ สู่ แหล่งเรียนรู้ชุมชน
9.จัดทำแผนงาน
                                                                                                            10.กิจกรรมนำเสนอผลงานด้านเศรษฐกิจพอเพียงและถ่ายทอดภูมิปัญญาชุมชนตามแนววิถีมุสลิม
11.ถอดบทเรียนกิจกรรม / สรุป / ประเมินผลโครงการ

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2013 16:04 น.