directions_run

สามประสานร่วมพัฒนาองค์ความรู้นำสู่การแลกเปลี่ยนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สามประสานร่วมพัฒนาองค์ความรู้นำสู่การแลกเปลี่ยนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 56-00278
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2013 - 31 พฤษภาคม 2014
งบประมาณ 203,500.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชัยวุฒิ ปั้นแป้น 084-0570159
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางกำไล สมรักษ์
พื้นที่ดำเนินการ ม.2 ต.ปากพนังฝั่งตะวันออก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.4017339907346,100.17763137788place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2013 25 ส.ค. 2013 1 พ.ค. 2013 25 ส.ค. 2013 81,400.00
2 26 ส.ค. 2013 31 พ.ค. 2014 26 ส.ค. 2013 31 พ.ค. 2014 102,100.00
3 1 เม.ย. 2014 31 พ.ค. 2014 20,000.00
รวมงบประมาณ 203,500.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 พัฒนาศักยภาพแกนนำและผู้นำกลุ่ม ให้สามารถขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย พัฒนาความรู้ พัฒนาอาชีพ ชักนำสมาชิกกลุ่มและคนในชุมชนมาปรับสภาพพื้นที่บ่อรกร้างและพื้นที่ว่างเปล่าให้เป็นพื้นที่เกษตรอินทรีย์ โดยใช้ศูนย์ประสานงานกลุ่มเป็นสื่อกลางของการพัฒนาความรู้และพัฒนาอาชีพ
  1. แกนนำและผู้นำกลุ่มมีศักยภาพด้านความรู้พัมนาอาชีพนำไปปฏิบัติและถ่ายทอดไปยังสมาชิกกลุ่มได้ จำนวน 20 ครัวเรือน
  2. สมาชิกกลุ่มได้ใช้ศูนย์ประสานงานกลุ่มในการศึกษาหาความรู้ด้านการประกอบอาชีพเป็นแหล่งข่าวสารประชาสัมพันธ์ของชุมชน เป็นแหล่งข่าวสารประชาสัมพันธ์ของหน่วยราชการ โดยมีการเรียนรู้เดือนละ 1 ครั้ง
2 2. เพื่อพัฒนาพื้นที่เกษตรอินทรีย์สำหรับส่งเสริมอาชีพจากพื้นที่เสื่อมโทรมให้เป็นพื้นที่เกษตรอินทรีย์ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น จาการมีส่วนร่วมของคนในทุกวัย
  1. ประชาชนทุกวัยมาร่วมพัฒนาพื้นที่เกษตรอืนทรีย์สำหรับส่งเสริมอาชีพจากพื้นที่เสื่อมโทรมให้เป็นพื้นที่เกษตรอินทรีย์ โดยใช้ถูมิปัญญาท้องถิ่น ครอบครัวละ 3 คน จำนวน 45 ครัวเรือน รวม 135 คน
  2. ครัวเรือนในกลุ่มเป้าหมาย 45 ครัวเรือน สามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่เสื่อมโทรมเป็นพื้นที่เกษตรอินทรีย์สำหรับส่งเสริมอาชีพ การเลี้ยงปลากะพงขาว ปลานิล ปูดำ ปลูกพืชผักปลอดสารพิษ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับครัวเรือน
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมกลุ่มเป้าหมายจำนวน ๔๕ ครัวเรือน เด็กและเยาวชนจำนวน  ๒๐ คนเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมในโครงการและทำปฏิทินโครงการ
  2. ประชุมกลุ่มแกนนำก่อนทำกิจกรรม หลังทำกิจกรรม
  3. ขยายผลการให้แกนนำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มนำเอาภูมิปัญญาชาวบ้านเรื่อง “  การลงแขก “ มาปรับปรุงพื้นที่ทำการเกษตรปลอดสารพิษ
  4. แกนนำกลุ่มและผู้นำกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกพื้นที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพการเลี้ยงสัตว์น้ำ  การเลี้ยงสัตว์  การปลูกพืชแบบผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
  5. ทำชุดความรู้จาการเรียนรู้สามประสานเชิงความรู้นำมาประยุกต์ใช้
  6. ร่วมอนุรักษ์ประเพณีวันสารท วันชักพระ วันลอยกระทง วันสงกรานต์ โดยให้บ้านที่เป็นแหล่งเรียนรู้ มาเป็นวิทยากร ในแต่ละฐาน ในงานประเพณี
  7. นำปราชญ์ชาวบ้านและผู้ใหญ่ในชุมชนที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องการเล่นดนตรีพื้นบ้าน “ กลองยาว “ มาสอนเด็กและเยาวชนในชุมชน
  8. จัดกลุ่มทบทวนถอดบทเรียนการดำเนินกิจกรรมทั้งหมด
  9. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2013 21:25 น.