directions_run

โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่5บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี2(โรงเรียนพัฒนาคุณภาพชีวิตเยาวชนลดเสี่ยงบ้านโคกวัดอบอุ่น)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่5บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีปี2(โรงเรียนพัฒนาคุณภาพชีวิตเยาวชนลดเสี่ยงบ้านโคกวัดอบอุ่น)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 56-00275
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 พฤษภาคม 2013 - 15 มิถุนายน 2014
งบประมาณ 278,500.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปาริชาติ แก้วทองประคำ 086-4813994
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางกัลยา เอี่ยวสกุล
พื้นที่ดำเนินการ บ้านโคกวัด หมู่ที่ 5 ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.7662158026346,101.23832702637place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 พ.ค. 2013 15 ต.ค. 2013 15 พ.ค. 2013 29 ส.ค. 2013 110,000.00
2 16 ต.ค. 2013 15 เม.ย. 2014 30 ส.ค. 2013 15 มิ.ย. 2014 141,500.00
3 16 เม.ย. 2014 15 มิ.ย. 2014 27,000.00
รวมงบประมาณ 278,500.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เกิดเวทีประชาคม ที่มีส่วนร่วมของชุมชนในการวิเคราะห์ วางแผน งานโครงการ เพื่อแก้ปัญหาที่ตรงกับความต้องการและสาเหตุของชุมชนอย่างแท้จริง คนในชุมชนมีจิตสาธารณะในการร่วมพัฒนาชุมชน เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้บนบริบทของชุมชนเองโดยใช้ทุนทางสังคมที่มีอยู่

1.เกิดกระบวนการพัฒนาระบบสุขภาพของชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

2 2. เพื่อให้มีการสร้างสุขภาวะที่ดีให้กับเด็กและเยาวชนในการลดพฤติกรรมเสี่ยงในชุมชน โดยครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจ สังคมและสติปัญญาตั้งแต่เกิดจนตาย

1.มีสภาผู้นำเยาวชน  มีส่วนร่วมในการวางแผนแก้ปัญหา

3 3.ให้ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการ พัฒนาระบบสุขภาพของชุมชน โดยการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สังคม

3.1.มีมาตรการทางสังคม/นวัตกรรมในการ ดูแลสุขภาพเยาวชน
3.2.เยาวชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม (กับช่วงวัย และอาชีพในการลดโรค ลดเสี่ยง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม )

3.3.ชุมชนมีความรักความสามัคคี  ทุกช่วงวัยอยู่ร่วมกันด้วยความรักความเข้าใจกัน ทำให้เยาวชนเป็นคนดี เห็นคุณค่าของเองและส่วนรวม
3.4.เยาวชนได้เรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆและพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ตามความสนใจของตน เอง (ทำให้เยาวชนเป็นคนดี เห็นคุณค่าของตนเองและส่วนรวม  มีโอกาสพัฒนาตนให้เต็มตามศักยภาพอย่างรอบด้าน

4 4.เพื่อสร้าง“ครอบครัวอุ่นรัก ชุมชนสุขภาวะ” โดยการมีส่วนร่วม นำไปสู่ความเป็นชุมชนปลอดภัยและเอื้ออาทร มีความสุขทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างยั่งยืน

4.1.ครอบครัวที่มีความสุข เยาวชนและคนในครอบครัวมีการดูแลสุขภาพที่ ดีเยาวชนไม่มีพฤติกรรมเสี่ยง
4.2.เกิดระบบการพัฒนาสุขภาพชุมชนที่มีส่วนร่วมของเครือข่าย ชุมชน เยาวชนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและทุกภาคส่วน มีระบบ การสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลสุขภาพของเยาวชน ทุกคนในชุมชน

4.3 มีและนำข้อมูลความเสี่ยงด้านอบายมุขของชุมชนมาใช้ในการลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านอบายมุขของเด็กและคนในชุมชน

5 5สรุปประเมินผลการดำเนินงาน

เพื่อติดตามความก้าวหน้า ประเมินผลการดำเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

6 เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการโดยทีมสจรส.มอ.,สสส

1.การเข้าร่วมประชุมกับทีมงานสจรส.มอ.,สสส.
2.การจัดทำรายงาน

7

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.พัฒนาทีมงาน ประชุมทีมสภาผู้นำฯ จัดทำแผนงานนและโครงการ
1.1จัดเวทีเสวนาชุมชนเพื่อพิจารณาแผนงานโครงการ  การสำรวจข้อมูลความเสี่ยงและอบายมุขของชุมชน
1.2 เวทีประชาคมครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย การให้ข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ อบายมุขของครอบครัว  ยาเสพติดและความเสี่ยงของชุมชน: 2.พัฒนาแผนงานหลักสูตรและศักยภาพทีมพัฒนาหลักสูตรเด็กและเยาวชน สภาผู้นำและกลุ่มที่เกี่ยวข้อง                                            2.1ค่าอาหารประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา“สภาผู้นำเด็ก”2วัน
2.2จัดค่าย“อุ่นรัก พักใจ”ทำแผนความต้องการของเยาวชนนอกสถานที่  2 คืน3 วัน 2.3 ทีมพัฒนาและจัดทำหลักสูตร 2 วัน
2.4 เวทีนำเสนอหลักสูตรต่อชุมชน3เปิดโรงเรียนและจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร และจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์ในชุมชน                                                                                3.1ข้อเสนอ/แนวทางการแก้ปัญหาโดยชุมชน  เสนอเป็นแผนชุมชนเข้าวาระแผนยุทธศาสตร์ของอบต. การเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผน แผนร่วมกับเครือข่าย เครือข่าย ชุมชน เยาวชนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและทุกภาคส่วน
3.2เปิดโรงเรียนและจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร และจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์ในชุมชน  ทุกวันอาทิตย์  เป็นเวลา 40 สัปดาห์      3.3จัดวันครอบครัวชุมชนในการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและชุมชนให้มีการพบปะทะกิจกรรมร่วมกันของครอบครัวและเยาวชนเดือนละ 1ครั้ง
3.4 มหกรรมสุขภาพเยาวชนต้านภัยเสี่ยง (กองทุนประกัน 50,000บาท) 4.ติดตามประเมินผลถอดบทเรียน 4.1ประเมินติดตามผลการดำเนินงานพัฒนาเยาวชน ครอบครัว และเครือข่าย  2 ครั้ง
4.2สรุปถอดบทเรียนค่าอาหารคณะทำงาน สภาผู้นำ สภาผู้นำเด็ก2วัน
-ร่วมหากลวิธีการจัดเก็บข้อมูลที่ไม่กระทบความรู้สึกของชุมชน    -พัฒนาทีมเก็บข้อมูลโดยใช้กระบวนการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
-ทีมฯเก็บข้อมูลด้วยกลวิธีรักษาความลับและจริยธรรม
-สรุปวิเคราะห์และคืนข้อมูลชุมชน * 2 ครั้ง เพื่อหาแนวทางและมาตรการลดอบายมุขของชุมชน 5.ประชุมติดตามวางแผนและประเมินผลการดำเนินงานร่วมกับสภาผู้นำเดือนละครั้ง จัดทำเอกสาร สรุปผลการดำเนินงาน

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2013 15:31 น.