stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โรงเรียนร้างสร้างชีวิต
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 56-01581
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2013 - 30 กันยายน 2014
งบประมาณ 159,800.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสันติ รัฐนิยม
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ กำไล สมรักษ์
พื้นที่ดำเนินการ บ้านทุ่งหนองควาย หมู่ที่ 4 ตำบลดุสิต อำเภอถ้ำพรรณรา จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.4401961052959,99.361553192139place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2013 31 ม.ค. 2014 1 ก.ย. 2013 31 ม.ค. 2014 63,920.00
2 1 ก.พ. 2014 31 ก.ค. 2014 1 ก.พ. 2014 31 ส.ค. 2014 79,900.00
3 1 ส.ค. 2014 30 ก.ย. 2014 15,980.00
รวมงบประมาณ 159,800.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาพื้นทีว่างเปล่าของโรงเรียนร้างให้เป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์ต่อชุมชน
  1. คนในชุมชนมีการรวมกลุ่ม  เพื่อสร้างการเรียนรู้ใช้ประโและพัฒนาอาชีพ กลุ่มทำปุ๋ยหมัก-น้ำหมักชีวภาพ กลุ่มปลูกผัก-พืชสวนครัว กลุ่มเครื่องแกง กลุ่มเพาะชำกล้าไม้ จำนวน 80 ครัว  ร้อยละ 57 ของครัวเรือนทั้งหมด
  2. ได้ใช้พื้นที่ของโรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ในกิจกรรมการรวมกลุ่มต่าง ๆ ของชุมชน
2 สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อจัดศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่โรงเรียนร้าง

มีปราชญ์ชาวบ้าน, วิทยากรประจำกลุ่ม, ศูนย์เรียนรู้ประจำกลุ่ม จำนวน 8 คน กลุ่มทำปุ๋ยหมัก-น้ำหมักชีวภาพ นายเกษม  นามะหึงษ์, นายสมนึก  หอมแก้ว กลุ่มปลูกผัก-พืชสวนครัว นายประเวศ  หอมแก้ว, นายส้อง  นังแก้ว กลุ่มเครื่องแกง นางวรรณี  จันทร์พิบูลย์, นายมโน  หนูเสน กลุ่มเพาะชำกล้าไม้ นายจรูญ  ถิ่นพระบาท, นายสิทธิโชค เพชรแดง

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมคณะกรรมการทุกเดือน
  2. ประชุมใหญ่ผู้เข้าร่วมโครงการของชุมชน
  3. จัดทำร่างสัญญาประชาคม
  4. ปรับพื้นที่โรงเรียนร้างให้เป็นแปลงเรียนรู้
  5. ปลูกผักปลอดสารพิษ ผักสวนครัวรั้วกินได้
  6. ทำปุ๋ยหมักและทำน้ำหมักชีวภาพ
  7. ดูแลกองปุ๋ยหมักและกวนปุ๋ยชีวภาพทุกๆ 7 วัน
  8. บรรจุปุ๋ยหมักใสกระสอบ
  9. จัดประชุมให้ความรู้เชิงวิชาการแบ่งหน้าที่ออกเป็น 3 กลุ่มย่อยเพื่อรับผิดชอบในการดูแลกิจกรรม ซึ่งแบ่งเป็น 3 แปลง
  10. เรียนรู้การทำเครื่องแกง
  11. สร้างโรงเรือนเพาะชำกล้าไม้ โดยใช้วัสดุที่หาได้ในชุมชน
  12. ติดตามโครงการ กิจกรรมทุกกิจกรรม พร้อมลงพื้นที่ทุกเดือน 4 เดือน
  13. ถอดบทเรียนโครงการ
  14. จัดทำเอกสารข้อมูลองค์ความรู้
  15. จัดทำเอกสารประจำโครงการ
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ย. 2013 21:30 น.