stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปฎิรูปครัวเรือน มุ่งสู่แบบพอเพียงบ้านปาล์ม 3
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01405
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 มิถุนายน 2014 - 10 กรกฎาคม 2015
งบประมาณ 205,890.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายม่าหมัด เมืองเล่ง 2.นายอภิเชฐ อุมะระโห
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นภาภรณ์ แก้วเหมือน
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ 2 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.986109,99.942048place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 มิ.ย. 2014 10 พ.ย. 2014 10 มิ.ย. 2014 10 พ.ย. 2014 83,000.00
2 11 พ.ย. 2014 10 พ.ค. 2015 11 พ.ย. 2014 8 ต.ค. 2015 103,000.00
3 11 พ.ค. 2015 10 ก.ค. 2015 19,890.00
รวมงบประมาณ 205,890.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดการเรียนรู้ ภายใต้ข้อมูล และหาแนวทางลดรายจ่าย - เพิ่มรายได้ จัดการหนี้ให้ถูกต้องและเหมาะสม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 198 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน)
  2. เกิดสภาชุมชน 1 แห่ง
  3. เกิดการดำเนินงานของแกนนำทุก 1 เดือนคิดเป็นร้อยละ 100
  4. เกิดข้อมูลหนี้สินของชุมชน 1 ชุด

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ผู้นำชุมชนหรือคนในชุมชน มีความรู้อย่างถูกต้องและสามารถนำมาใช้และอบรมคนรุ่นหลังต่อไปได้

2 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการจัดทำบัญชีครัวเรือน
  1. จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ 198 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน)
  2. จำนวนบัญชีครัวเรือน 198 เล่มของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ
  3. เกิดมาตรการชุมชนเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ 1 มาตรการ ข้อตกลงหรือกฎระเบียบในการเข้าร่วมโครงการครั้งต่อไป

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้

3 เพื่อให้ครัวเรือนพึ่งพาตนเองได้ โดยการออม
  1. จำนวนครัวเรือนที่มีภาวะหนี้สินลดลงร้อยละ 50 ของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ
  2. ครัวเรือนร้อยละ 50 มีการเก็บออม

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของการพึงพาตนเองได้ โดยเน้นหลักเศรษฐกิจพอเพียง

4 สรุปขยายผลและประเมินผล
  1. มาตรการชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย และเพิ่มการออม 1 มาตรการ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ประชาชนเห็นถึงความสำคัญของการเก็บออมและมีการปลูกผักไว้กินเองข้างบ้าน เช่น พริกสด ตะไคร้ เป็นต้น

5 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.