directions_run

บ้านควนไสน รวมพลังสร้างสุขภาพ ปลูกและใช้สมุนไพรใกล้ตัว

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ้านควนไสน รวมพลังสร้างสุขภาพ ปลูกและใช้สมุนไพรใกล้ตัว
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01406
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015
งบประมาณ 212,125.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางภัทรพร เหมนะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางนภาภรณ์ แก้วเหมือน
พื้นที่ดำเนินการ บ้านควนไสน หมู่ที่ 1 ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.0218459442325,99.750194549561place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 85,000.00
2 1 พ.ย. 2014 30 เม.ย. 2015 1 พ.ย. 2014 10 ก.ค. 2015 107,000.00
3 1 พ.ค. 2015 30 มิ.ย. 2015 20,125.00
รวมงบประมาณ 212,125.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนากลไกของชุมชนในการบริหารเพื่อพึ่งตนเอง

เชิงปริมาณ

  1. จำนวนแกนนำของหมู่บ้านร้อยละ 80 เข้าร่วมประชุมจัดทำแผน
  2. ประชากรร้อยละ 20 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเพื่อจัดทำแผนชุมชน
  3. เกิดแผนเพื่อการพึ่งตนเอง

เชิงคุณภาพ

  1. ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนัก มีจิตอาสาร่วมกันสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง รับทราบรายละเอียดกิจกรรมที่เกิดขึ้น ร่วมกันแสดงความคิดเห็นและวางแผนการดำเนินกิจกรรม
2 เพื่อส่งเสริมการปลูกสมุนไพร ผักพื้นบ้านและเกิดกลุ่มเศรษฐกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพร

เชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ 40 ของประชากร ปลูกพืชสมุนไพร ผักพื้นบ้านบริโภคในครัวเรือน
  2. เกิดกลุ่มเศรษฐกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรจำนวน 1 แห่ง
  3. เกิดธนาคารเมล็ดพันธุ์ผักพื้นบ้านและพืชสมุนไพร มีโรงเรือนเพาะพันธุ์กล้าไม้จำนวน 1 แห่ง

เชิงคุณภาพ

  1. ประชาชนในชุมชนมีความสนใจให้ความร่วมมือในการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรใช้เอง
  2. ประชาชนในชุมชนประกอบอาหารจากผักพื้นบ้านที่ปลูกเอง โดยไม่ซื้อจากท้องตลาด และมีการประกอบเมนูเพื่อสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
  3. มีการนำเมล็ดพันธุ์ผักพื้นบ้าน พืชสมุนไพรปลูกบริเวณบ้าน
  4. เกิดรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายสมุนไพรและผักพื้นบ้าน
3 เพื่อส่งเสริมการปรับการดำเนินชีวิตเพื่อลดค่าใช้จ่ายและพึ่งตนเองด้านสุขภาพโดยการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน

เชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ 60 ของประชาชน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
  2. ร้อยละ 50 ของประชากรที่ป่วยเป็นโรคปวดเมื่อย กระดูกสันหลังเสื่อม และกล้ามเนื้ออักเสบจากการทำงาน มีการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการฟื้นฟูโรค
  3. เพื่อให้แกนนำหมู่บ้านตระหนักที่จะเรียนรู้และแก้ไขปัญหาของชุมชนมีความสามัคคี สามารถทำงานเป็นทีม ได้

เชิงคุณภาพ

  1. ประชากรที่ป่วยเป็นโรคปวดเมื่อย กระดูกสันหลังเสื่อม และกล้ามเนื้ออักเสบจากการทำงาน รู้สึกพึงพอใจและมีการแนะนำผู้อื่นในการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพ
  2. ประชาชนในชุมชนมีการนำภูมิปัญญาพื้นบ้านใช้รักษาอาการเบื้องต้นของโรคเพิ่มมากขึ้น
4 เพื่อให้แกนนำหมู่บ้านตระหนักที่จะเรียนรู้และแก้ไขปัญหาของชุมชนมีความสามัคคี สามารถทำงานเป็นทีม ได้

เชิงปริมาณ

  1. แกนนำร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง
  2. โครงการสามารถดำเนินงานได้ทุกกิจกรรม ร้อยละ 100

เชิงคุณภาพ

  1. แกนนำมีความพึงพอใจในโครงการ กระตืนรือร้นในการทำกิจกรรม
5 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการตัวชี้วัด
  1. จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.