directions_run

โครงการตลาดอาหารปลอดภัยของชุมชน ม.13 บ้านนา ต.เกาะเต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตลาดอาหารปลอดภัยของชุมชน ม.13 บ้านนา ต.เกาะเต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01424
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015
งบประมาณ 194,100.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอนันต์ ทิพย์รักษ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายไพฑูรย์ ทองสม
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 13 ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 8.6136098521758,99.357948303223place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 1 มิ.ย. 2014 20 พ.ย. 2014 77,640.00
2 1 พ.ย. 2014 30 เม.ย. 2015 21 พ.ย. 2014 30 มิ.ย. 2015 97,050.00
3 1 พ.ค. 2015 30 มิ.ย. 2015 19,410.00
รวมงบประมาณ 194,100.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการปรับพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภค
  1. จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของโครงการ อย่างน้อย 120 ครัวเรือน จากจำนวนครัวเรือนเป้างหมาย 150 ครัวเรือน
  2. จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน มีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือน
  3. ฐานข้อมูลด้านการบริโภคของชุมชนบ้าน มีการสำรวจข้อมูลรับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการโดยกำหนดรับสมัคร 50ครัวเรือนร่วมกันวางแผนทำกิจกรรมสำรวจข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ โดยสอบถามเรื่องการปลูกผักในครัวเรือนหรือไม่ มีการใช้สารเคมีหรือไม่ รายจ่ายของครอบครัว พฤติกรรมการบริโภค การใช้ชีวิตประจำวันให้แต่ละครัวช่วยตอบและคณะทำงานเก็บรวบรวมเพื่อเตรียมรวบรวมข้อมูลและนำเสนอในเวทีครั้งต่อไป
2 2.เพื่อให้เกิดรูปแบบกิจกรรมการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการผลิตและกลไกการตลาดเพื่อการบริโภคให้เอื้อต่อสุขภาวะของคนในชุมชน

1 จำนวนครัวเรือนที่ปรับปรุงวิธีการผลิตจากกระบวนการเดิมเป็นกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ไม่น้อยกว่า 150 ครัวเรือน จากทั้งหมด 300 ครัวเรือน 2. จำนวนประชาชนในชุมชนที่เข้ามามีส่วนร่วมในตลาดอาหารปลอดภัยชุมชน ทั้งผู้ผลิต ผู้จำน่าย และผู้ซื้อ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของประชากรทั้งหมด

3 3. เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนตลาดอาหารปลอดภัยชุมชนอย่างยั่งยืน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จำนวนเครือข่ายที่เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารจัดการตลาดอาหารปลอดภัยชุมชน ไม่น้อยกว่า 15 คน 2. ข้อตกลงร่วมหรือแนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการตลาดอาหารปลอดภัยชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

ตลาดสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง

4 4.เพื่อกำกับติดตามและประเมินผลโครงการ

1.จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส.และสจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.