directions_run

ความมั่นคงทางด้านอาหารวิถีบ้านท่าช้าง ( ต่อเนื่อง )

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ความมั่นคงทางด้านอาหารวิถีบ้านท่าช้าง ( ต่อเนื่อง )
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01436
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 พฤษภาคม 2014 - 19 มิถุนายน 2015
งบประมาณ 201,800.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอำมร สุขวิน
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายเสณี จ่าวิสูตร
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านท่าช้าง ม.5 ต.พนางตุง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง 93150
ละติจูด-ลองจิจูด 7.7371025996023,100.10500520393place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 พ.ค. 2014 15 ต.ค. 2014 20 พ.ค. 2014 14 พ.ย. 2014 80,720.00
2 16 ต.ค. 2014 15 พ.ค. 2015 18 พ.ย. 2014 31 ก.ค. 2015 100,900.00
3 16 พ.ค. 2015 19 มิ.ย. 2015 20,180.00
รวมงบประมาณ 201,800.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ความมั่นคงทางด้านอาหารของชุมชน และพัฒนาหลักสูตรสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารของชุมชน

เชิงปริมาณ

1.1 คนในชุมชนและเยาวชน/คนรุ่นใหม่ ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารของชุมชนอย่างน้อยร้อยละ 50 ของชุุมชน
1.2 หลักสูตรท้องถิ่นจำนวน 1 หลักสูตร
1.3 คู่เมือการเรียนรู้การผลิตข้าวอินทรีย์ครบวงจร /สร้างฐานความมั่นคงทางด้านอาหาร 1 เล่ม
1.4 มีสื่อประกอบการเรียนรู้อย่างน้อย 3 สื่อ ประกอบด้วยแผ่นพับ 1 ชุด วิซีดี 1 เรื่องและชุดนิทรรศการ 1 ชุด

เชิงคุณภาพ

1.1 คนในชุมชนและเยาวชน คนรุ่นใหม่ ตระหนักความสำคัญของความมั่นคงทางด้านอาหารและนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้สร้างความมั่นคงทางอาหารระดับครอบครัว และชุมชน
1.2 หลักสูตรที่ได้สามารถเป็นเครื่องมือให้กับชุมชน เครือข่าย สร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความตระหนักและแนวทางที่สามารถนำปรับใช้ในการเสริมสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร
1.3 มีสื่อประกอบการเรียนรู้และรณรงค์ ประกอบกระบวนการเรียนรู้ทำให้เข้าถึงและเข้าใจง่ายขึ้น

2 2. เพื่อส่งเสริม ขยายผลการเรียนรู้ ขยายพื้นที่ และกลไกเฝ้าระวัง ฐานความมั่นคงทางด้านทั้งในและนอกชุมชน

เชิงปริมาณ

2.1 มีชาวนาบ้านท่าช้างผลิตข้าวอินทรีย์เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 20 ครอบครัว นาอินทรีย์เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 20 ไร่
2.2 มีครอบครัวที่สามารถพึ่งตนเองทางด้านอาหารในครัวเรือน จำนวน 30 ครอบครัว
2.3 มีข้อตกลงการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ 1 ชุด ผลักดันเทศบัญญัติ และมีอาสาสมัครประมงเฝ้าระวัง 10 คน
2.4 มีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงเรียนชาวนา การผลิตข้าวอินทรีย์/ความมั่นคงทางด้านอาหาร อย่างน้อย 5หวัด 1 เครือข่าย
2.5 เยาวชนได้เรียนรู้และมีการปรับไปใช้ จำนวน 20 คน

เชิงคุณภาพ

2.1 มีชาวนาอย่างน้อย 20 ครอบครัวทำนาอินทรีย์ได้ข้าวปลอดสารพิษบริโภคในครอบครัวและแบ่งปันให้ชุมชุม ส่วนที่เหลือจัดการร่วมกันในกลุ่มการขายสร้างรายได้ 2.2 มีครัวเรือนที่สามารถผลิตอาหารกินเองในครอบครัว มีข้าวพื้นบ้าน ผักพื้นบ้าน มีสัตว์เลี้ยง ที่ปลอดสารพิษ และบางส่วนแบ่งปัน ขายในชุมชน และแลกเปลี่ยนระหว่างเครือข่าย เขา นา เล 2.3 มีข้อตกลงและกลไกเฝ้าระวังที่สามารถอนุรักษ์และเพิ่มสัตว์น้ำในคลองบางไข่ขิงได้
2.3 มีกลไกเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้และหนุนเสริมองค์รความรู้ พันธุ์กรรม เทคนิค กระบวนการขับเคลื่อน สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารได้ 2.4เยาวชนสามารถนำความมั่นคงทางด้านอาหารมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน

3 3. เพื่อพัฒนากลไก กฎ และจัดตั้งธนาคารพันธุกรรมพื้นบ้านและจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย "ธรรมนูญความมั่นคงทางด้านอาหาร"

เชิงปริมาณ

3.1 คณะทำงาน 15 คน กลไกขับเคลื่อนสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและชุมชนน่าอยู่
3.2 มีกฏข้อตกลงร่วมกัน และมีธรรมนูญความมั่นคงทางอาหาร 1 ชุด
3.3 มีธนาคารพันธุกรรมพื้นบ้าน 1 แห่ง
3.4 มีแปลงเมล็ดพันธุ์ข้าวพื้นบ้านชุมชนอย่างน้อย 15 ไร่และมีแปลงทดลองปลูกพันธุ์ข้าวพื้นบ้าน 10 สายพันธุ์
3.5 มีระเบียบการบริหารจัดการของธนาคารพันธุ์ข้าวพื้นบ้าน
3.6 มีกลไกขับเคลื่อนของสภาหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง
3.7 เยาวชนมีส่วนร่วมกำหนดขอตกลงและระเบียบการจัดการธนาคารพันธฺุ์กรรมพื้นบ้าน จำนวน 20 คน

เชิงคุณภาพ

3.1 คณะทำงานสามารถขับเคลื่อน กำหนดแนวทางการดำเนินโครงการ และติดตามหนุนเสริมการดำเนินโครงการทำให้การดำเนินงานสำเสร็จได้ พร้อมทั้งยังขยับไปสู่การสร้างชุมชนน่าอยู่ หรือแก้ปัญหาอื่นของชุมขนแบบมีส่วนร่วม
3.2 ธรรมนูญความมั่นคงทางด้านอาหาร ซึ่งชุมชนใช้เป็นข้อตกลงแและนโยบายร่วมกันในการสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารได้
3.3 มีกลไกธนาคารพันธุกรรมพื้นบ้านที่ชุมชนสมารถบริหารจัดการได้ด้วยตนเอง เพื่อเสริมฐานความหลากหลายและความมั่นคงทางอาหาร
3.3 กลไกขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วยตัวแทนจากทุกภาคส่วน เช่น ตัวแทนชุมชน ตัวแทนผู้บริหารเทศบาลตำบลฯ ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตัวแทนสถานศึกษา หน่วยงานรัฐ
3.4 เยาวชนได้ร่วมพัฒนากลไก กฎ และจัดตั้งธนาคารพันธุพื้นบ้านและจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย "ธรรมนูญความมั่นคงทางด้านอาหาร"

4 4. เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.