stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ คนจงเก สร้างบ้านให้ปลา ด้วยป่าริมเล
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01446
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015
งบประมาณ 209,200.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายคล้อย เเก้วภักดี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวอุทุมพร รัตน์หิรัญ 081-5982641
พื้นที่ดำเนินการ บ้านจงเก หมู่ที่ 3 ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 8.26585505288,99.9417686462place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 1 มิ.ย. 2014 12 พ.ย. 2014 83,680.00
2 1 พ.ย. 2014 30 เม.ย. 2015 13 พ.ย. 2014 12 ก.ค. 2015 104,600.00
3 1 พ.ค. 2015 30 มิ.ย. 2015 20,920.00
รวมงบประมาณ 209,200.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งทะเลหน้าบ้านจงเก

เชิงปริมาณ 1.1.คนในชุมชนมีความรู้และเข้าใจเห็นความสำคัญของการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ไขปัญหาเลหน้าบ้านเสื่อมโทรมร้อยละ 50 ของคนในชุมชน
ี 1.2.มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพประมงของชาวบ้านในพื้นที่ ม. 3 บ้านจงเก

1.3.ได้ชุดข้อมูลเเละแผนในการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเลฯ จำนวน 1 ชุด

เชิงคุณภาพ 1.1 คนในชุมชนมีความตระหนักเเละสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล

1.2 มีการไปเรียนรู้รูปธรรมความสำเร็จในการจัดการทรัพยากร ณ บ้านช่องฟืน ต.เกาะหมาก อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

2 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในปฏิบัติการการเฝ้าระวังป้องกัน ฟื้นฟูและพัฒนาทะเลสาบหน้าบ้านจงเก

เชิงปริมาณ

2.1. เพิ่มชนิดของไม้ป่าริมเล จำนวน 6 ชนิด จำนวน 300 ต้น ในพื้นที่บ้านจงเก
ม. 3 ต.จองถนน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุงในระยะทาง 3 กิโลเมตร 2.2 มีสื่อรณรงค์/ป้ายประชาสัมพันธ์ของพื้นที่บ้านจงเก 2.3 เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำและปรับสภาพน้ำในทะเลสาบ โดยผลิต
อีเอ็มบอล เพื่อปรับสภาพน้ำจำนวน 8,000 ลูก 2.4มีการขยายพันธ์กล้าไม้ริมเล จำนวน 6 ชนิดๆละ 100 ต้น รวมทั้งหมด 600
ต้น
2.5 มีแผนในการเฝ้าระวัง และมีชุดอาสาสมัครฯจำนวน 5 คน 2.6 มีกฏกติกาของชุมชนในการรักษาดูเเลพื้นที่เขตอนุรักษ์ บ้านจงเก


เชิงคุณภาพ

2.1. เป็นที่อยู่ของสัตว์น้ำวัยอ่อนและป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลหน้าบ้าน

2.2. เพิ่มปริมาณพันธุ์ไม้หายากที่สามารถปลูกได้ในพื้นที่ริมทะเลสาบ เช่น ต้นลำพู ต้นจาก ต้นจิก ต้นปอ ต้นคุระ ต้นหว้า และมีกฏกติกาในการดูแลรักษาร่วมกัน

2.3 มีการอบรมเครือข่ายวิทยุสื่อสาร CB เพื่อเฝ้าระวังฯ/มีแผนที่ทรัพยากรที่คนในชุมชนร่วมกันกำหนด/มีกิจกรรมการเฝ้าระวังฯออกตรวจตราพื้นที่เขตอนุรักษ์ในทะเล

3 พัฒนากลไกการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งให้มีกฏระเบียบที่ชัดเจนที่เกิดจากการวางแผนของคนในชุมชน

เชิงปริมาณ

3.1 มีคณะทำงานจำนวน12คน มีการประชุมร่วมกันอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อวางแผนติดตามการประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง

3.2 มีสรุปการเรียนรู้จากรูปธรรมความสำเร็จในการจัดการพื้นที่อนุรักษ์ บ้านจงเก

เชิงคุณภาพ

3.1 เเกนนำชุมชนในท้องถิ่นเเละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นกลไกในการดำเนินงาน 3.2 ยกระดับการทำงานอาสาสมัครเฝ้าระวังในพื้นที่/เพิ่มอาสาสมัครในชุมชน 3.3 มีการติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการฯ 4 เดือน/1ครั้ง

4 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามผลประเมินโครงการ
  1. จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส. และ สจรส.
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.