stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน หมู่ 18 บ้านโคกพยอม
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01455
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 สิงหาคม 2014 - 15 กันยายน 2015
งบประมาณ 179,700.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาว ไมมู่น๊ะ หลีหาด
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายตรา เหมโคกน้อย
พื้นที่ดำเนินการ บ้านโคกพยอม หมู่ที่ 18 ตำบล ละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.8372095635246,99.810018539804place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ส.ค. 2014 15 ม.ค. 2015 15 ส.ค. 2014 15 ม.ค. 2015 72,000.00
2 16 ม.ค. 2015 15 ส.ค. 2015 16 ม.ค. 2015 15 ก.ย. 2015 90,000.00
3 16 ส.ค. 2015 15 ก.ย. 2015 17,700.00
รวมงบประมาณ 179,700.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มศักยภาพการจัดการตนเองด้วยกระบวนการสภาชุมชน

เชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการมานั้งคิดและกำหนดรูปแบบ
  2. ผู้นำรุ่นเก่าที่เหลืออยู่มีจิตอาสาจำนวน 20 คน
  3. มีพื้นที่กลางคือ มัสยิด 1 แห่ง
  4. ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนรู้และเข้าใจกระบวนการภาวะผู้นำและเข้าใจงานที่ขับเคลื่อน
  5. ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนได้เข้าร่วมประชุม เดือนละ 1 ครั้ง

เชิงคุณภาพ

  1. ทำให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการร่วมกันแสดงความคิดเห็นการออกแบบ/กำหนดโจทย์และทำให้เกิดแกนนำจิตอาสารุ่นเก่า/รุ่นใหม่ รวมถึงมีพื้นที่กลาง
  2. เกิดความรู้ความเข้าใจการมีภาวะผู้นำที่ดี รู้กระบวนการในการทำงาน
2 ส่งเสริมการรวมกลุ่มของเยาวชนเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

เชิงปริมาณ

  1. เยาวชนร้อยละ 60 มีความสนใจศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน
  2. ร้อยละ 80 ของคนในชุมชนรับรู้รับทราบเรื่องราวศิลปะและร่วมพื้นฟูวัฒนธรรมพื้นบ้านให้คงอยู่
  3. ร้อยละ80 ของคนในชุมชน เกิดความรักความสามัคคี

เชิงคุณภาพ

  1. เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  2. คนในชุมชนเกิดความรักความสามัคคี
3 ส่งเสริมการใช้พืชท้องถิ่นในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ

เชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนได้รู้ถึงประโยชน์และคุณค่าทางอาหารของลูกโหรย
  2. ร้อยละ 70 ของคนในชุมชนได้มีการอนุรักษ์พืชท้องถิ่นในป่าชายเลน

เชิงคุณภาพ

  1. คนในชุมชนเกิดการเรียนรู้คุณค่าทางโภชนากรการของพืชในท้องถิ่น คือ ลูกโหรย
  2. ทรัพยากรในป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
4 เพื่อการบริหารจัดการ และการติดตามประเมิณผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.