stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ชุมชนหอยราก สืบสานตำนานขนมลาสร้างสุข
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01467
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015
งบประมาณ 193,150.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย วิชาญ จันทราทิพย์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ ปาลีรัตน์ แก้วประดิษฐ์
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนศรีสมบูรณ์ (หอยราก) ม 2 ต.หูล่อง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.3344373544691,100.19687656313place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 10 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 77,500.00
2 1 พ.ย. 2014 30 เม.ย. 2015 1 พ.ย. 2014 10 ก.ค. 2015 96,750.00
3 1 พ.ค. 2015 30 มิ.ย. 2015 18,900.00
รวมงบประมาณ 193,150.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ชุมชนมีเครือข่ายสุขภาพที่เข้าถึงและสอดคล้องกับวิถีชีวิตชาวหอยราก

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

1.1 เกิดเครือข่ายเยาวชนอาสาพัฒนาสุขภาพ 1.2 เกิดเครือข่ายผู้สูงวัยร่วมใจในหอยราก 1.3 เกิดสภาผู้นำชุมชนขับเคลื่อนศรีสมบูรณ์ให้น่าอยู่ 1.4 เกิดเครือข่ายผู้ประกอบอาชีพขนมลา

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. คนในชุมชนร่วมกันจัดระบบเครือข่ายดูแลสุขภาพชุมชน อย่างน้อย 4 กลุ่ม
2 ประชาชนตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันโรคภายใต้กระบวนการสร้างสุขภาวะตามวิถีชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2.1ชาวศรีสมบูรณ์มีพฤติกรรมถูกต้องในการดูแลสุขภาพตนเอง 2.2 ชาวศรีสมบูรณ์ลดอัตราเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อหรือโรคจากการประกอบอาชีพ 2.3 ชาวศรีสมบูรณ์ร่วมแรงร่วมใจสร่้างสิ่งแวดล้อมสะอาด น่าอยู่

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 2. คนในชุมชนร้อยละ 50 เข้าร่วมกิจกรรมดูแลสุขภาพตนเอง และร่วมกันดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนต่อเนื่องสม่ำเสมอ

3 ชุมชนมีการอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาชุมชน วัฒนธรรม ประเพณีและอัตลักษณ์ท้องถิ่น

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 3.1 บันทึกภูมิปัญญาการทำขนมลา และอาชีพท้องถิ่น 3.2 มีประเพณีงานบุญสารทเดือนสิบ ประเพณีวันขนมลางานเปิดปิดเตาลา ต่อเนื่องทุกปี

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 3. ชุมชนมีการรวบรวมและอนุรักษ์ภูมิปัญญาชุมชน ได้แก่ ภูมิปัญญาอาชีพทำขนมลา ภูมิปัญญาการนวดแผนโบราณ ภูมิปัญญาประเพณีบุญสารทเดือนสิบ ประเพณีวันขนมลา

4 เพื่อการบริหารจัดการและติดตามผลการประเมินงาน

จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.