directions_run

บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ้านไม้มูกปลอดกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ด้วยสมุนไพร
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01471
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2014 - 30 มิถุนายน 2015
งบประมาณ 178,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางละมัย ช่วยบำรุง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายศุภกิจ กลับช่วย
พื้นที่ดำเนินการ บ้านไม้มูก หมู่ที่ 5 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.6721746387693,99.877384901047place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 มิ.ย. 2014 10 พ.ย. 2014 10 มิ.ย. 2014 22 ต.ค. 2014 72,000.00
2 11 พ.ย. 2014 10 พ.ค. 2015 23 ต.ค. 2014 3 ก.ค. 2015 90,000.00
3 11 พ.ค. 2015 10 ก.ค. 2015 16,000.00
รวมงบประมาณ 178,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ มีทักษะ และแก้ไขปัญหามลพิษทางกลิ่นจากมูลสัตว์โดยใช้สมุนไพรได้

เชิงปริมาณ

1.1 ครัวเรือน 70 ครัวเรือน มีความรู้ในการแก้ไขมลพิษทางกลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์โดยใช้สมุนไพร

1.2 มีแกนนำตัวแทนละแวกกลุ่มบ้านจำนวน 7 กลุ่มละแวกบ้านมีส่วนร่วมการจัดการมลพิษทางกลิ่น โดยมีการพูดคุยกันทุกเดือน เพื่อขับเคลื่อนงาน 12 ครั้ง

1.3 แกนนำร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์ จำนวน 50 คน

1.4 ฟาร์มเลี้ยงสัตว์มีการนำสมุนไพรใช้แก้ไขปัญหามลพิษทางกลิ่นของมูลสัตว์และมีฟาร์มต้นแบบแก้ไขปัญหากลิ่นมูลสัตว์ร้อยละ 50

1.5 ฟาร์มสาธิตการจัดการแก้ปัญหามลพิษจากกลิ่นมูลสัตว์จำนวน 2 ฟาร์ม

1.6 ครัวเรือนสาธิตใช้แก๊สชีวมวลนำมูลสัตว์มาใช้ประโยชน์ในครัวเรือน จำนวน 1 แห่ง

เชิงคุณภาพ

1.1 ประชาชนมีความรู้และสามารถประยุกต์ใช้สมุนไพรแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์ได้

1.2 แกนนำมีส่วนร่วมการจัดการมลพิษทางกลิ่นโดยมีการพูดคุยกันทุกเดือน

1.3 ฟาร์มเลี้ยงสัตว์แก้ไขปัญหาเนื่องจากกลิ่นมูลสัตว์

1.4 แกนนำร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้สมุนไพรดับกลิ่นมูลสัตว์

1.5 มีฟาร์มสาธิตการจัดการแก้ปัญหามลพิษจากกลิ่นมูลสัตว์เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน

1.6 มีแหล่งเรียนรู้แก๊สชีวมวลสาธิตในชุมชน

2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการปลูกสมุนไพรและผลิตสูตรสมุนไพรในการกำจัดกลิ่นมูลสัตว์

เชิงปริมาณ

2.1 มีครัวเรือนนำร่องในการปลูกสมุนไพรในการทำสมุนไพรดับกลิ่น จำนวน 70 ครัวเรือน

2.2 มีชมรมสมุนไพรหมู่บ้าน จำนวนสมาชิก 70 คน

2.3 มีเยาวชนเรียนรู้เรื่องสมุนไพร จำนวนสมาชิก 30 คน

2.4 เกิดบ้านต้นแบบการปลูกและใช้สมุนไพรดีเด่นเพื่อเป็นฐานเรียนรู้เรื่อง 7 หลังคาเรือน

2.5 ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมวันมหกรรมสมุนไพรบ้านไม้มูก จำนวน 100 คน

2.6 แกนนำและเยาวชนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องครัวตัวอย่างหลีกเลี่ยงสารเคมี จำนวน 60 คน

เชิงคุณภาพ

2.1 ครัวเรือนมีการปลูกและใช้สมุนไพรแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นจากมูลสัตว์

2.2 มีกลุ่มสมุนไพรเกิดขึ้นในหมู่บ้าน 1 กลุ่ม

2.3 ชุมชนมีกลุ่มเยาวชนรักษ์สมุนไพรเกิดขึ้นในหมู่บ้าน

2.4 ชุมชนมีบ้านต้นแบบปลูกและใช้สมุนไพรเป็นฐานเรียนรู้แลกเปลี่ยนของ

2.5 ประชาชนร่วมกิจกรรมเรียนรู้วันมหกรรมสมุนไพรบ้านไม้มูก

2.6 แกนนำและเยาวชนมีความรู้เรื่องครัวตัวอย่างหลีกเลี่ยงสารเคมี

3 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. หรือ สจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.