directions_run

พื้นที่สร้างสรรค์ สานสัมพันธ์คนสองวัยชุมชนหัวแหลมพัฒนา

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พื้นที่สร้างสรรค์ สานสัมพันธ์คนสองวัยชุมชนหัวแหลมพัฒนา
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01508
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015
งบประมาณ 189,400.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวชยาพร สะบู่ม่วง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนหัวแหลมพัฒนา ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ละติจูด-ลองจิจูด 9.1707916653156,99.341646025423place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 75,760.00
2 1 พ.ย. 2014 30 เม.ย. 2015 1 พ.ย. 2014 30 มิ.ย. 2015 94,700.00
3 1 พ.ค. 2015 30 มิ.ย. 2015 18,940.00
รวมงบประมาณ 189,400.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. เกิดแกนนำเยาวชนในการพัฒนาสุขภาวะชุมชน อย่างน้อย 20 คน
  2. มีกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชน อย่างน้อย 5 กิจกรรม
  3. เยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร่วมคิด ร่วมทำกิจกรรมที่สร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนเพิ่มขึ้น อย่างน้อยสัปดาห์ 2 ครั้ง
  4. ผู้สูงอายุได้รับการดูแลทั้งด้านร่างกายและจิตใจ จำนวน 30 คน
  5. มีการค้นพบและรื้อฟื้นภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุเพื่อนำมาเป็นแหล่งเรียนรู้ให้คนในชุมชนและนอกชุมชน อย่างน้อย 5 แห่ง

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของเยาวชนในการพัฒนาสุขภาวะชุมชนให้น่าอยู่
  2. เด็กและเยาวชนมีทักษะในการคิดการวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาของชุมชน
  3. เด็กและเยาวชนสามารถออกแบบกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์
  4. สามารถสร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่หันมาดูแล และพัฒนาชุมชนของตนเองให้น่าอยู่
2 เพื่อสร้างเสริมให้ชุมชนหัวแหลมมีสุขภาวะอย่างยั่งยืน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. มีสภาผู้นำด้านสุขภาวะจากตัวแทนเครือข่ายต่างๆในชุมชนจำนวนไม่น้อยกว่า 15 คน
  2. มีกติกาหรือมาตราการชุมชนในการสร้างสุขภาวะของชุมชนบ้านหัวแหลม
  3. เกิดกิจกรรมปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่ ปลอดภัยจากอุบัติเหตุในงานเทศกาลต่างๆ อย่างน้อย 4 เทศกาล เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ ลอยกระทง งานกีฬาชุมชน
  4. จำนวนผู้บริโภคเหล้าและบุหรี่ลดลง ร้อยละ 20% จากผู้ที่บริโภคเหล้าและบุหรี่

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. สภาผู้นำมีการใช้ข้อมูล วางแผนและสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่ายเพื่อให้ชุมชนบ้านหัวแหลมมีสุขภาวะอย่างยั่งยืน
  2. คนในชุมชนมีสุขภาพด้านจิตใจ อารมณ์ เพื่อให้คนในชุมชนสุขภาพที่ดีขึ้น
  3. ลดอุบัติเหตุที่เกิดจากการเมา ในเทศกาลต่างๆ
  4. เด็กและเยาวชนมีจิตสำนึกในการไม่นำอบายมุขต่างๆ เข้ามาในประเพณี
  5. คนในชุมชนความรักความสามัคคีต่อกัน
3 เพื่อติดตามและสนับสนุนโครงการ
  1. สามารถจัดทำรายงานกิจกรรม รายงานความก้าวหน้า รายงานการเงินได้อย่างถูกต้อง และสมบูรณ์
  2. ทีมงานมีทักษะความสามารถในการทำงานเพิ่มขึ้น
  3. สามารถเข้าร่วมกิจกรรมติดตามจาก สสส. สจสร.มอ. และพี่เลี้ยง ทุกครั้ง
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.