directions_run

ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชน ตามหลักวิถีเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไสยง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01510
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2014 - 30 มิถุนายน 2015
งบประมาณ 211,850.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย มน พลพิชัย
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวจารุวรรณ วงษ์เวช
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 9 บ้านไสยง ต.สินปุน อ.เขาพนม จ.กระบี่
ละติจูด-ลองจิจูด 8.2297543075226,99.231873750769place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 1 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 84,740.00
2 1 พ.ย. 2014 30 เม.ย. 2015 1 พ.ย. 2014 1 ก.ค. 2015 105,925.00
3 1 พ.ค. 2015 30 มิ.ย. 2015 21,185.00
รวมงบประมาณ 211,850.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างการเรียนรู้แก่เยาวชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
  1. มีองค์กร/คณะกรรมการชุมชนดำเนินงานอย่างน้อย 1 ชุด
  2. จำนวนเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลียนเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมากกว่า 75 % มีกิจกรรมฐานการเรียนรู้ในชุมชนด้านการทำบัญชีครัวเรือนข้อมูลสมุนไพรได้อย่างน้อย 50 %
  3. มีข้อมูลในชุมชนในด้านการทำบัญชีครัวเรือน ข้อมูลสมุนไพรในชุมชนอย่างน้อย 50 %
  4. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปลูกพืชสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน การแปรรูปสมุนไพร และการจัดจำหน่ายสมุนไพร
  5. ร้อยละ 70 ของเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปลูกพืชสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน การแปรรูปสมุนไพร และการจัดจำหน่ายสมุนไพรครบวงจร
  6. เยาวชนสามารถต่อยอดสุ่การจัดการและเพิ่มรายได้ด้วยต้นทุนชุมชนได้
  7. เกิดกลไกการดำเนินงานในชุมชน
  8. เกิดกติกาสังคมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเสพสารเสพติด บุหรี่ เหล้า ในชุมชน
2 2.เพื่อให้เด็กเยาวชนมีรายได้จากการเพิ่มมูลค่าสมุนไพรในชุมชน
  1. มีข้อมูลในชุมชนในด้านการทำบัญชีครัวเรือน ข้อมูลสมุนไพรในชุมชนอย่างน้อย 50 %
  2. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปลูกพืชสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน การแปรรูปสมุนไพร และการจัดจำหน่ายสมุนไพร
  3. ร้อยละ 70 ของเยาวชนที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปลูกพืชสมุนไพรที่ใช้บ่อยในชุมชน การแปรรูปสมุนไพร และการจัดจำหน่ายสมุนไพรครบวงจร
  4. เกิดกติกาสังคมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเสพสารเสพติด บุหรี่ เหล้า ในชุมชน
  5. เยาวชนสามารถต่อยอดสุ่การจัดการและเพิ่มรายได้ด้วยต้นทุนชุมชนได้
3 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลโครงการ
  • จำนวนครั้งในการเข้ารวมพัฒนาโครงการร่วมกับ สสส. และ สจรส.มอ. และพี่เลี่ยงโครงการ
  • รายงานกิจกรรม รายงานผลการดำเนินงานโครงการ รายงานการเงินเสร็จสมบูรณ์
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.