directions_run

โครงการสภาเด็กและเยาวชนกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (ปี 2 ต่อเนื่อง)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสภาเด็กและเยาวชนกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (ปี 2 ต่อเนื่อง)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01520
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 มิถุนายน 2014 - 10 กรกฎาคม 2015
งบประมาณ 168,250.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะรอซี นิกาเร็ง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอาหามะ เจ๊ะโซะ
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนฮูมอลานัส หมู่ 6 ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.2468328850644,102.05925464644place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 มิ.ย. 2014 10 พ.ย. 2014 10 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 68,000.00
2 11 พ.ย. 2014 10 พ.ค. 2015 1 พ.ย. 2014 10 ก.ค. 2015 85,000.00
3 11 พ.ค. 2015 10 ก.ค. 2015 15,250.00
รวมงบประมาณ 168,250.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เกิดสภาเด็กและเยาวชนที่มีบทบาท เข้มแข็งในการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ 60 ของเด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกของสภาเด็กและเยาวชนฮูมอลานัส
  2. สภาเด็กและเยาวชนมีบทบาทในการกำหนดทิศทางการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. สมาชิกของสภาเด็กและเยาวชนฮูมอลานัส สามารถเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนภารกิจงานด้านพัฒนาสังคม เพื่อสร้างให้เป็นชุมชนน่าอยู่ พร้อมทั้งเกิดระบบการบริหารจัดการภายในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
2 ชุมชนสามารถขับเคลื่อนกิจกรรมด้านเด็กเยาวชนที่มุ่งเน้นให้เกิดกระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กเยาวชนโดยให้หลักศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. มีแผน/คู่มือการจัดการด้านเด็กและเยาวชนในชุมชนฮูมอลานัส ที่มีส่วนร่วมโดยเครือข่ายทุกกลุ่ม
  2. จำนวนเด็กและเยาวชนที่ติดยาเสพติด กลุ่มเสี่ยง และเยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม มีอัตราลดลงร้อยละ 40

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. กิจกรรมด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้น สามารถแก้หรือลดปัญหาด้านด็กเยาวชน โดยใช้ฐานข้อมูลเป็นตัวกำหนดทิศทางการพัฒนา เพื่อทำให้เด็กเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามที่อยู่ในชุมชน
3 เกิดเป็นกลุ่มเยาวชนต้นแบบด้านการพัฒนาชุมชนและเสริมสร้างสุขภาวะทางสังคมรวมทั้งขยายการทำงานเชิงเครือข่ายเพื่อมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. จำนวนเครือข่ายกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชนข้างเคียงจำนวนประมาณ 4 ชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาการดำเนินงานของกลุ่มเด็กและเยาวชนต้นแบบที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. กลุ่มเด็กและเยาวชนฮูมอลานัสสามารถเป็นเยาวชนต้นแบบที่มีการยกระดับการทำงานในด้านการเสริมสร้างให้ชุมชนน่าอยู่อย่างต่อเนื่อง
4 -เพื่อบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

-จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. แล สจ.รส

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.