stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพเจาะเกาะให้น่าอยู่
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01521
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 11 มิถุนายน 2014 - 10 กรกฎาคม 2015
งบประมาณ 203,550.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายลุกมาน ปาเน๊าะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางเพียงกานต์ เด่นดารา
พื้นที่ดำเนินการ บ้านเจาะเกาะ ม.1 ต.บูกิต อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.20290486683,101.823028475place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 11 มิ.ย. 2014 10 พ.ย. 2014 11 มิ.ย. 2014 31 ต.ค. 2014 82,000.00
2 11 พ.ย. 2014 10 พ.ค. 2015 1 พ.ย. 2014 30 มิ.ย. 2015 107,000.00
3 11 พ.ค. 2015 10 ก.ค. 2015 14,550.00
รวมงบประมาณ 203,550.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้สร้างทีมแกนนำเยาวชนในการผลักดันแก้ไขปัญหาชุมชน

ขตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. เกิดกลุ่มเยาวชนที่ร่วมเป็นสื่อกลางของชุมชน 1 กลุ่ม
  2. มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

1.ทีมผลักดัน และดูแลเด็กและเยาวชน โดยกลุ่มของเยาวชนมีการปฏิบัติอยู่ในกรอบ แนวทางของอิสลาม เพื่อควบคุมและป้องกันใม่ให้เด็กและเยาวชนยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดมีระบบการบริหารจัดการภายในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและมีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง

2.สมาชิกในครัวเรือนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดอย่างสม่ำเสมอ

3.ศูนย์แหล่งเรียนรู้ทางด้านอาชีพ(กลุ่มอนาซีด)มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

4.ทีมอานาซีดจำนวน 20 ทีม สามารถแต่งเพลง และร้องเพลงเองได้ เป็นการต่อต้านอบายมุขซึ่งส่วนใหญ่เนื้อหา คำร้องในอนาซีดเป็นเนื้อหาที่ลักษณะเชิญชวนให้คนทำแต่ความดี มีคุณธรรมเป็นการอบรม สั่งสอน ห้ามปรามไม่ให้ทำผิด โดยผ่านบทเพลง

2 เพื่อสร้างอาชีพและสร้างรายได้ ให้กับเยาวชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. แหล่งเรียนรู้ทางด้านอาชีพเพื่อให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 1 ศูนย์
  2. ร้อยละ 20 เด็กและเยาวชนมีอาชีพสร้างรายได้ให้กับตนเอง

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

1.ศูนย์แหล่งเรียนรู้ทางด้านอาชีพ(กลุ่มอนาซีด)มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

2.ทีมอานาซีดจำนวน 20 ทีม สามารถแต่งเพลง และร้องเพลงเองได้ เป็นการต่อต้านอบายมุขซึ่งส่วนใหญ่เนื้อหา คำร้องในอนาซีดเป็นเนื้อหาที่ลักษณะเชิญชวนให้คนทำแต่ความดี มีคุณธรรมเป็นการอบรม สั่งสอน ห้ามปรามไม่ให้ทำผิด โดยผ่านบทเพลง

3 เพื่อการส่งเสริมสถาบันครอบครัว เยาวชน และชุมชน ให้เกิดความรัก ความสามัคคี ในชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ร้อยละ 50 ของครัวเครือน เกิดครอบครัวที่อบอุ่น

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. ครอบมีสายใยรัก ผูกพัน มีสัมพันธ์ภาพที่ดีระหว่างครอบครัว ห่างไกลปัญหาครอบครัว ความขัดแย้ง แตกแยก ทะเลาะเบาะแว้งกัน อยู่อย่างมีความสุข

  2. เด็กและเยาวชนมีการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในเรื่องการใช้ชีวิตอย่างมีศิลธรรม จริยธรรมและคุณธรรม โดยปฏิบัติกิจกรรมอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย เดือนละ 2 ครั้ง

  3. ไม่มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนในชุมชนในการลักขโมย

  4. ไม่มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนในชุมชนในเรื่องการทะเลาะเบาะแว้งกัน

4 เพื่อให้เกิดความสามัคคีในชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ  ร้อยละ 20 เกิดกลุ่มเยาวชนที่มีจิตสาธารณะ จิตอาสาและเกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ  เยาวชนมีจิตสาธารณะ รู้จักและเข้าใจชุมชนตนเองมากยิ่งขึ้น ทำให้ทราบความพึงพอใจของคนในชุมชน

5 เพื่อการบริหารจัดการ และการติดตามผลการประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. สจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.