stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ คืนสู่ธรรมชาติบ้านพัฒนา
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01542
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 มิถุนายน 2014 - 10 กรกฎาคม 2015
งบประมาณ 147,950.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุเทพ จอกทอง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ อาจารย์กำไล สมรักษ์
พื้นที่ดำเนินการ บ้านพัฒนา หมู่ที่ 11 ตำบล หัวไทร อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.4343378844043,99.719295501709place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 มิ.ย. 2014 10 พ.ย. 2014 10 มิ.ย. 2014 18 ต.ค. 2014 59,180.00
2 11 พ.ย. 2014 10 พ.ค. 2015 19 ต.ค. 2014 30 มิ.ย. 2015 73,975.00
3 11 พ.ค. 2015 10 ก.ค. 2015 14,795.00
รวมงบประมาณ 147,950.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้านให้เห็นความสำคัญของธรรมชาติและร่วมกันฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในผืนนา และไร่สวน ให้เป็นที่ทำกินแบบดั้งเดิม ลดสารเคมี เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

เชิงปริมาณ

  1. กลุ่มตัวอย่างทำกินถิ่นดั้งเดิม จำนวน 10 ครัว เป็นวิทยากรต้นแบบเพื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่เพื่อทำเกษตรปลอดสารเคมีให้กับประชาชนในหมู่บ้าน
  2. ประชาชนในหมู่บ้าน จำนวน 30 ครัวเรือน ร่วมกันร่วมกันฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในผืนนา และไร่สวน ให้เป็นที่ทำกินแบบดั้งเดิม ลดสารเคมี เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

เชิงคุณภาพ

  1. มีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนมีความตระหนักในการดำรงชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีความสัมพันธ์อันดี มีการแลกเปลี่ยนผลผลิตตามธรรมชาติซึ่งกันและกัน ชาวบ้านในชุมชนสุขภาพดีขึ้น
2 เพื่อให้เกิดการเรียนรู้การทำเกษตรแบบดั้งเดิม เกิดเป็นชุดความรู้ของบ้านพัฒนา คืนสู่ธรรมชาติ

เชิงปริมาณ

  1. มีชุดความรู้การทำเกษตรแบบดั้งเดิม จากการรวมกลุ่มปฏิบัติ 1 ชุดความรู้
  2. แกนนำทำชุดความรู้สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่่นได้ ร้อยละ 80

เชิงคุณภาพ

  1. มีชุดความรู้จากการปฏิบัติ เป็นความรู้ที่นำไปใช้ในพื้นที่ได้ โดยคนในพื้นที่เป็นผู้ถ่ายทอดกันเอง
3 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
  1. จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส หรือ สจรส.มอ.
  2. ส่งรายงานงวดได้ทันเวลาและถูกต้อง
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2014 16:58 น.