directions_run

มัสยิดกุนุงจนองสร้างสุข สู่สองวัยใส่ใจสุขภาพ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ มัสยิดกุนุงจนองสร้างสุข สู่สองวัยใส่ใจสุขภาพ
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02624
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 ตุลาคม 2014 - 20 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 191,800.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอัสมี ดาหะมิ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ สุวิทย์ หมาดอะดำ
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนกุนุงจนอง ต.เบตง อ.เบตง
ละติจูด-ลองจิจูด 5.7580895138985,101.22631657753place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ต.ค. 2014 20 มี.ค. 2015 20 ต.ค. 2014 20 มี.ค. 2015 76,720.00
2 21 มี.ค. 2015 20 ก.ย. 2015 21 มี.ค. 2015 20 พ.ย. 2015 95,900.00
3 21 ก.ย. 2015 20 พ.ย. 2015 19,180.00
รวมงบประมาณ 191,800.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดี และสามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
1. มีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะ โดยใช้หลัก 3 อ. 2ส. ให้กับผู้สูงอายุ จำนวน 81 คน
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
1. มีคณะทำงานจัดการข้อมูล
2. มีกระบวนการพัฒนาคณะทำงานข้อมูล
3. มีการรวบรวมข้อมูลเพื่อเป็นข้อมูลนำเข้าในการสร้างความตระหนักต่อชุมชนในประเด็น ผู้สูงอายุ
4. มีการวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชน
5. มีกระบวนการคืนข้อมูลให้ชุมชน

2 2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
1. ชุมชนมีกิจกรรมสำหรับอบรมให้ความรู้ และเตรียมความพร้อมสำหรับครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 40 ครัวเรือน
2. ได้ชุดความรู้/คู่มือดูแลผู้ป่วยที่เป็นของชุมชน โดยมีการบูรณาการกับหลักการของศาสนาอิสลาม จำนวน 1 ชุด

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
1. เกิดกลุ่มตัวแทนสมาชิกในครอบครัว และเยาวชนที่มีบทบาทในการดูแลผู้สูงอายุ โดยแน้นการให้ความสำคัญในกิจวัตรประจำวันและการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
2. ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ด้านศาสนามาปรับใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้

3 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสแสดงศักยภาพของตนเองในการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
1. ผู้สูงอายุในชุมชนรวมตัวกันเป็นอาสาสมัครถ่ายทอดความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ด้านอาหาร ด้านอาชีพ ด้านสมุนไพร และด้านศาสนาให้ผู้สนใจและเยาวชนจำนวน 1 กลุ่ม
2. มีผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุ เช่น ขนม เครื่องใช้ที่เกิดจากการประดิษฐ์ วางจำหน่าย เพื่อสมทบในกองทุนผู้สูงอายุ กุนุงจนอง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
1. มีองค์ความรู้ในด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชนและผู้สนใจ จำนวน 1 ชุด
2. เกิดศูนย์ถ่ายทอดความรู้เชิงประสบการณ์ ประจำชุมชน 1 ศูนย์

4 4. เพื่อสร้างกลไกชุมชนที่แข็งแรงสู่ชุมชนน่าอยู่

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
1.มีการประชุมติดตามกิจกรรม ทุกเดือน จำนวน 10 เดือน
2.มีการถอดบทเรียน 1 ครั้ง
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
มีการปรับแผน และ กิจกรรมเพื่อความสอดคล้องกับบริบทของสถานการณ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5 5. เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับสสส.และสจรส.

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.