stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปือมูดอบือราเป๊ะ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02562
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 ตุลาคม 2014 - 25 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 127,960.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเจ๊ะอูมา ปิ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ เพียงกานต์ เด่นดารา
พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านบือราเป๊ะ ม.3 บ้านบือราเป๊ะ ต.โคกเคียน อ.เมือง จ.นราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.4961235022872,101.75889015177place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25 ต.ค. 2014 25 มี.ค. 2015 25 ต.ค. 2014 25 มี.ค. 2015 51,184.00
2 26 มี.ค. 2015 25 ก.ย. 2015 26 มี.ค. 2015 25 พ.ย. 2015 63,980.00
3 26 ก.ย. 2015 25 พ.ย. 2015 12,796.00
รวมงบประมาณ 127,960.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเยาวชนให้มีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

1.ร้อยละ 80 ของเยาวชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมมีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดเชิงนคุณภาพ

1.เยาวชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

2.มลพิษทางอากาศลดลง

3.คนในชุมชนมีสุขภาพดี

2 เพื่อจัดตั้งเครือข่ายสภาชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จัดตั้งเครื่องข่ายสภาชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อม จำนวน 1 เครือข่าย ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

1.สภาชุมชนมีกฎกติกาของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันจากมลพิษทางอากาศและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ (HUKUM FAKAT)
**กฎกติกามีดังนี้

  1. ต้องใช้ทรัพยากรอย่างฉลาด คือ ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ ถึงผลได้ผลเสียจากการใช้ทรัพยากรโดยคิดตามหลักการศาสนาอิสลาม และเมื่อใช้แล้วจะส่งผลอย่างไรในอนาคต
  2. ประหยัดของที่หายาก หมายความว่าทรัพยากรใดที่มีน้อยหรือหายากก็ควรเก็บรักษาหรือสงวนเอาไว้ไม่ให้สูญหายไป ของบางอย่างถ้าอยู่ในสภาพที่พอจะใช้ได้ก็ควรจะใช้ต่อไป และใช้อย่างประหยัดอย่าฟุ่มเฟือย
  3. หาวิธีฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีหรือเสื่อมโทรมให้ดีขึ้น กล่าวคือ ทรัพยากรใดที่มีสภาพล่อแหลมต่อการสูญเปล่าหรือหมดไป ก็ควรที่จะซ่อมแซมหรือปรับปรุงให้อยู่ในสภาพที่ดีขึ้น

2.สภาชุมชนมีการบังคับใช้กฎกติกาของชุมชน

3.ชุมชนมีการขับเคลื่อนกิจกรรมผ่านสภาชุมชน

3 ติดตามสนับสนุนจาก สสส.สจรส.มอและพี้เลี้ยง

เข้าร่วมกิจกรรมกับ สจรส. ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด มีภาพถ่ายทุกกิจกรรม มีป้ายปลอดบุหรี่ที่สถานที่จัดประชุม ส่งรายงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.