stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ้านโคกไม้ไผ่ รู้จด รู้ใช้ สุขได้ด้วยพอเพียง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02543
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2014 - 15 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 204,550.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเกียรติศักดิ์ บุญมี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายเสณี จ่าวิสูตร
พื้นที่ดำเนินการ บ้านโคกไม้ไผ่ หมู่ที่ 4 ต.นาบินหลา อ.เมือง จ.ตรัง 92000
ละติจูด-ลองจิจูด 7.5342169569948,99.657910466181place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2014 15 มี.ค. 2015 15 ต.ค. 2014 21 มี.ค. 2015 105,250.00
2 16 มี.ค. 2015 15 ก.ย. 2015 22 มี.ค. 2015 8 พ.ย. 2015 86,500.00
3 16 ก.ย. 2015 15 พ.ย. 2015 12,800.00
รวมงบประมาณ 204,550.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในการรู้จักตนเอง ครัวเรือนและชุมชนและนำไปสู่การวา่งแผนการในการปรับพฤติกรรมในการใช้จ่ายและการพึ่งตนเองโดยใช้การทำบัญชีครัวเรือน เกิดการรวบรวมข้อมูล เข้าใจการวิเคราะห๋ข้อมูล กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้สินครัวเรือนและชุมชน
  1. มีข้อมูลรายรับ รายจ่ายครัวเรือน 40 ครัวเรือน ที่สามารถแสดงให้เห็นถึงสภาพระดับรายรับ รายจ่าย หนี้สินของครัวเรือน
  2. มีการวิเคราะห์ค้นหาสาเหตุ ที่ไปที่มาของรายรับ รายจ่าย และหนี้สิน
  3. มีแผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ มีการออม ทั้งระดับปัจเจก ระดับครัวเรือน ระดับชุมชน
  4. มีเด็กและเยาวชนได้มีโอกาสเรียนรู้ถึงภาระค่าใช้จ่ายของครัวเรือน
2 เพื่อหนุนเสริมให้คนในชุมชนมีปฏิบัติการในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ทำสิ่งที่กินและใช้เอง ทั้งระดับชุมชน ครัวเรือนและการรวมกลุ่มกันทำภายใต้การหนุนเสริมขององค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง
  1. มีกิจกรรมลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ระดับครัวเรือน 40 ครัวเรือน- ทำและใช้สินค้าทดแทน - ทำและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ - ปลูกพืชผัก สำหรับบริโภคในครัวเรือน

  2. มีกิจกรรมเพิ่มการออมในกลุ่มที่มีการออม/และมีการออมในกลุ่มที่ยังไม่มีการออม ในครัวเรือน 40 ครัวเรือน

  3. มีแหล่งอาหารเพิ่มในพื้นที่สาธารณะได้แก่ พืชผักพื้นเมือง จำนวน3ชนิด3000ต้น

3 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชุมชน
  1. มีคณะทำงาน จำนวน 10 คน
  2. มีการประชุมประจำเดือนจำนวน 5 ครั้ง
  3. มีทีมในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 5 คน
4 ติดตามการดำเนินงานตามโครงการ
  • ติดตามการดำเนินงานตามดครงการจากพี่เลี้ยงโครงการ

  • สนับสนุน หนุนเสริมพัฒนาการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการ

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.