directions_run

โครงการจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งบ้านควนตุ้งกู

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งบ้านควนตุ้งกู
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02575
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2014 - 15 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 207,290.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายจรูญ บุญศิริ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายวิสุทธิ์ ทองย้อย
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนท่าเรือบ้านควนตุ้งกู
ละติจูด-ลองจิจูด 7.3529329823894,99.478695988655place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2014 15 มี.ค. 2015 15 ต.ค. 2014 24 มี.ค. 2015 82,916.00
2 16 มี.ค. 2015 15 ก.ย. 2015 25 มี.ค. 2015 15 พ.ย. 2015 103,645.00
3 16 ก.ย. 2015 15 พ.ย. 2015 20,729.00
รวมงบประมาณ 207,290.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างกระบวนการในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

เชิงปริมาณ - แกนนำกลุ่มชาวประมงพื้นบ้านจำนวน 30 คน ได้รับการเสริมสร้างกระบวนการในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง - ชาวประมงพื้นบ้านจำนวน 145 คน ได้รับประโยชน์จากการฟื้นฟูทรัพยากรฯ - เยาวชนจำนวน 30 คน ได้รับการปลูกฝังจิตสำนึกในการรักษาทรัพยากรฯ - เอกสารข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจำนวน 1 ชุด
- เอกสารรายงานสรุปเกี่ยวกับการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรฯ

เชิงคุณภาพ
- กระบวนการในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของหมู่บ้านได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นผ่านกระบวนการปรึกษาหารืออย่างต่อเนื่อง - กระบวนการในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของหมู่บ้านได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น - ชุมชนตระหนักในความสำคัญของทรัพยากรและการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรฯมากขึ้น - เกิดการปลูกฝังและสืบสานกระบวนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งให้แก่คนรุ่นใหม่ - ทรัพยากรมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น

2 เพื่อสนับสนุนและพัฒนากลไกในการเฝ้าระวังทางทะเลและชายฝั่ง

เชิงปริมาณ
- ธนาคารปูม้าไข่นอกจำนวน 1 แห่ง - คณะทำงานเฝ้าระวังทางทะเลและชายฝั่งจำนวน 12 คน
- เอกสารการปรับปรุง กฏ กติกา ข้อตกลง ของชุมชน 1 ชุด
- การออกตรวจและรณรงค์เพื่อรักษาทรัพยากรฯ จำนวน 12 ครั้ง

เชิงคุณภาพ - กลไกการตรวจการณ์ทางทะเลแและชายฝั่งร่วมระหว่างหน่วยงานรัฐและชุมชนได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ - มีกิจกรรมและพื้นที่อนุรักษ์สัตว์น้ำของชุมชน - กติกา ข้อตกลงของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลฯได้รับการทบทวนและปรับปรุงโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน หน่วยงานรัฐและหน่วยงานส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง

3 เพื่อจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของชุมชนบ้านควนตุ้งกู

เชิงปริมาณ
- แผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ผ่านการรับรองร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำนวน  1 ชุด

เชิงคุณภาพ
- ชุมชนชายฝั่งมีความเข้าใจในกระบวนการและความสำคัญของการตัดทำแผนการจัดการทรัพยากรฯ - แผนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่เกิดจากความร่วมมือจากภาคีที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน

4 เพื่อติดตามและประเมินผล

จำนวนครั้งที่ผู้รับผิดชอบเข้าร่วมการติดตามและประเมินผล

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.