stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ลดปัญหายาเสพติดในหมู่บ้านสะแตน่าอยู่
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02571
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2014 - 15 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 212,900.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอันวา มูนา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอาหามะ เจ๊ะโซะ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านสะแต ถนนสะแต1 ต.บาเจาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.5018478637947,101.65207386017place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2014 15 มี.ค. 2015 15 ต.ค. 2014 17 มี.ค. 2015 85,100.00
2 16 มี.ค. 2015 15 ก.ย. 2015 18 มี.ค. 2015 15 พ.ย. 2015 106,500.00
3 16 ก.ย. 2015 15 พ.ย. 2015 21,300.00
รวมงบประมาณ 212,900.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้คนหรือกลุ่มคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด

เชิงปริมาณ

  1. จัดตั้งเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนอย่างน้อย 1 เครือข่าย
  2. มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง
  3. มีสภาชุมชนศรัทธาในการดูแลและแก้ไขปัญหาของชุมชน 1 สภา
  4. มีหลักสูตรการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนโดยชุมชนจัดทำขึ้นเอง 1 หลักสูตร

    เชิงคุณภาพ

1.เครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนมีความเข้มแข็งและมีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
2.สมาชิกในครัวเรือนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดอย่างสม่ำเสมอ 3.สภาชุมชนศรัทธามีความเข้มแข็งและมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

2 2.เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนได้รับการบำบัดและดูแล

เชิงปริมาณ

1.) จัดตั้งเครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนอย่างน้อย 1 เครือข่าย

2.)มีมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติด 1 เรื่อง

3.)มีสภาชุมชนศรัทธากำปงตักวาในการดูแลและแก้ไขปัญหาของชุมชน 1 สภา

4.)มีหลักสูตรการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนโดยชุมชนจัดทำขึ้นเอง 1 หลักสูตร


เชิงคุณภาพ

1.) เครือข่ายในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดในชุมชนมีความเข้มแข็งและมีการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง

2.)สมาชิกในครัวเรือนปฏิบัติตามมาตรการทางสังคมและมาตรการทางศาสนาหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้านในการควบคุมและป้องกันยาเสพติดอย่างสม่ำเสมอ

3.)สภาชุมชนศรัทธากำปงตักวามีความเข้มแข็งและมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

3 3.เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาว่าด้วยยาเสพติดและนำไปประพฤติปฏิบัติได้ถูกต้อง

เชิงปริมาณ

1.)เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 มีความรู้เรื่องยาเสพติดและหลักคำสอนของศาสนาว่าด้วยยาเสพติด

2.)เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนได้รับการบำบัดและดูแล ร้อยละ 80 หรือเท่ากับ 45 คน

3.)เด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดในชุมชนร้อยละ 45 สามารถเลิกสารเสพติดได้

4.)เด็กและเยาวชนติดสารเสพติดรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 15 ของเด็กและเยาวชนที่ติดสารเสพติดทั้งหมด


เชิงคุณภาพ

1.)เด็กและเยาวชนสามารถนำหลักคำสอนของศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้อย่างต่อเนื่อง

2.)เด็กและเยาวชนที่เลิกสารเสพติดแล้วไม่กลับติดสารเสพติดซ้ำและสามารถกลับตัวเป็นคนดีของสังคมทำให้สังคมยอมรับ

4 ติดตามสนับสนุนจากสสส.สจรส. และพี่เลี้ยง

เข้าร่วมกิจกรรมกับ สจรส.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด มีภาพถ่ายทุกกิจกรรม มีป้ายปลอดบุหรี่ที่สถานที่จัดประชุม ส่งรายงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.