directions_run

ธนาคารต้นไม้เพื่อการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสาขาชุมชนวังกระบือ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ธนาคารต้นไม้เพื่อการอนุรักษ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านสาขาชุมชนวังกระบือ
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02623
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2014 - 30 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 167,800.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ สาปีนะห์ แมงสาโมง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นิมลต์ หะยีนิมะ
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนวังกระบือ หมู่ 7 ต.โละจูด อ.แว้ง จ.นราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.3398671871384,101.86746597294place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ย. 2014 31 มี.ค. 2015 1 พ.ย. 2014 31 มี.ค. 2015 69,360.00
2 1 เม.ย. 2015 30 ก.ย. 2015 1 เม.ย. 2015 8 พ.ย. 2015 82,950.00
3 1 ต.ค. 2015 30 พ.ย. 2015 15,490.00
รวมงบประมาณ 167,800.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 - เพื่ออนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชสมุนไพรพื้นบ้าน โดยการจัดตั้งธนาคารต้นไม้เพาะขยายพันธุ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านเป็นอาหารและยา โดยมีสภาผู้นำชุมชนขับเคลื่อนโครงการ
  1. ธนาคารผลิตต้นไม้ 1 แห่ง
  2. สภาผู้นำชุมชนคนรักต้นไม้ 1 กลุ่ม
  3. อบรมให้ความรู้ต้นไม้ 50 ชนิดแก่จิตอาสา 100 คน
2 เพื่อสืบทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการใช้พืชสมุนไพรพื้นบ้านวังกระบือ
  1. ค่ายกายูมิมปี..สานฝันรักต้นไม้ของเยาวชนบ้านวังกระบือ 80 คน
  2. อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่จิตอาสา จำนวน 60 คน
  3. กิจกรรมฝากต้นไม้ไว้ธนาคารจำนวน 50 ชนิด 10,000 ต้น มาจัดในเรือนพันธุ์ไม้ของธนาคาร
  4. ชุดความรู้ โดยรวบรวมข้อมูลต้นไม้ 50 ชนิด
3 เพื่อพัฒนาชุมชนน่าทางเข้าหมู่บ้านให้น่าอยู่ด้วยป้ายสื่อความหมายพืชสมนุไพร
  1. อบรมจิตอาสา แกนนำสภาชุมชนคนรักต้นไม้มีความรู้การสร้างชุมชนน่าอยู่ด้วยเอกลัษณ์ "ชุมชนรอบป่า"
  2. แผนที่สมุดทำมือชุมชคนรักป่าบ้านวังกระบือ 1 ป้าย
  3. เส้นทางต้นไม้ธรรมชาติ 1 แห่ง
4 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยคนในชุมชนที่มีจิตอาสา รักต้นไม้เป็นบ้านตัวอย่างในโครงการ"บ้านน่าอยู่ ริ้วกินได้"
  1. บ้านตัวอย่าง บ้านน่าอยู่ ริ้วกินได้" จำนวน 20 หลังคาเรือนเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
  2. อบรมพัฒนาเจ้าของบ้านตัวอย่าง แกนนำกลุ่มวานีตา สภาชุมชนคนรักต้น แกนนำเยาวชน เป็นวิทยากรท้องถิ่นจำนวน 50 คน
5 เพื่อนำผลการดำเนินโครงการมาทำแผนงานชุมชนให้ได้รับประโยชน์แก่คนในชุมชน

ถอดบทเรียนคณะทำงานกลุ่มวานีตา สภาชุมชนคนรักต้นไม้ เพื่อพูดคุยผลการดำเนินโครงการ

6 ติดตามสนับสนุนจากสสส. สจรส. และพี่เลี้ยง

เข้าร่วมกิจกรรมกับสสส.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัดมีภาพถ่ายทุกกิจกรรม มีป้ายปลอดบุหรี่ที่สถานที่จัดประชุม ส่งรายงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.