stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ปราชญ์ตัวน้อยช่วยเศรษฐกิจที่บ้านไสหร้า
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02546
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2014 - 15 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 196,300.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมปอง เกลี้ยงเกลา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวรัชฎาภรณ์ จันทสุวรรณ์
พื้นที่ดำเนินการ บ้านไสหร้า หมู่ที่ 1 ตำบลบางรูป อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.4173941788123,99.31374013377place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2014 15 มี.ค. 2015 15 ต.ค. 2014 29 ต.ค. 2015 78,520.00
2 16 มี.ค. 2015 15 ก.ย. 2015 30 ต.ค. 2015 15 พ.ย. 2015 98,150.00
3 16 ก.ย. 2015 15 พ.ย. 2015 19,630.00
รวมงบประมาณ 196,300.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เกิดปราชญ์ตัวน้อยแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

1.1 มีปราชญ์ตัวน้อยอย่างน้อย 15 คน

1.2 ร้อยละ 80 ของปราชญ์ตัวน้อยมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตได้

1.3 ร้อยละ 80 ของปราชญ์ตัวน้อยสามารถเป็นวิทยากรเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงได้

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

1.1 ปราชญ์ตัวน้อยมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตได้

1.2 ปราชญ์ตัวน้อยสามารถเป็นวิทยากรในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงได้

2 คนในชุมชนบ้านไสหร้ามีภูมิคุ้มกันที่มั่นคงแข็งแรงโดยอาศัยฐานการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

2.1 มีสภาองค์กรการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 องค์กร 2.2 มีฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 3 ฐาน ได้แก่
1) ฐานการเรียนรู้การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การเรียนรู้การทำน้ำยาไล่แมลง
2) ฐานการเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษ
3) ฐานการเรียนรู้พลังงานทดแทน

2.3 ร้อยละ 80 ของคนที่เข้าร่วมโครงการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต 2.4 เกิดฐานการเรียนรู้ในชุมชนตามกลุ่มบ้านจำนวน 5 กลุ่มบ้าน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

2.1 คนในชุมชนใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต 2.2 ชุมชนพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนบนฐานการเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3 ชุมชนสามารถจัดการปัญหาด้านเศรษฐกิจของตนเองได้

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

3.1 ร้อยละ 80 ของคนที่เข้าร่วมโครงการ ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิตประจำวัน

3.2 เกิดฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามกลุ่มบ้าน 5 กลุ่มบ้าน ดังนี้ 1.กลุ่มบ้านไสหร้า 2.กลุ่มบ้านโคกแต้ว 3.กลุ่มบ้านเกาะสัก 4.กลุ่มบ้านหัวถนน 5.กลุ่มบ้านนอก

3.3 ร้อยละ 80 ของกลุ่มบ้านสามารถขยายผลกิจกรรมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงไปสู่คนในกลุ่มบ้านได้

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

3.1 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมีความสามารถนำไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน

4 คนในชุมชนบ้านไสหร้ามีคุณภาพชีวิตดีขึ้น โดยการมีสุขภาพที่แข็งแรง อยู่ดี กินดี ไม่มีหนี้สิน หรือหนี้สินลดลง

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

4.1 ร้อยละ 80 ของชาวบ้านไสหร้า ไม่มีหนี้สินหรือหนี้สินลดลง

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

4.1 คนในชุมชนบ้านไสหร้ามีสุขภาพแข็งแรง อยู่ดีกินดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

5 เพื่อติดตามหนุนเสริม และประเมินผล
  1. มีการจัดส่งรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ตรงตามระยะเวลางวดโครงการ
  2. จำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.ม.อ./สสส. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.