stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อยู่อย่างวิถีไทย ชาวควนสินชัยสุขภาพดี
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02560
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 ตุลาคม 2014 - 20 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 165,400.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายพิศิษฐ ชีวะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ 1. นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง 2. นางสาววาสนา สูน่าหู
พื้นที่ดำเนินการ บ้านควนสินชัย หมู่ที่ 5 ตำบลไทรทอง อำเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฏร์ธานี
ละติจูด-ลองจิจูด 8.4028656741139,99.170212447659place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ต.ค. 2014 20 มี.ค. 2015 20 ต.ค. 2014 28 ก.พ. 2015 66,160.00
2 21 มี.ค. 2015 20 ก.ย. 2015 1 มี.ค. 2015 20 พ.ย. 2015 82,700.00
3 21 ก.ย. 2015 20 พ.ย. 2015 16,540.00
รวมงบประมาณ 165,400.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธีในทุกกลุ่มวัย และสร้างกลไกสภาผู้นำชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ร้อยละ 40 ของประชาชนบ้านควนสินชัยที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกวิธี
  2. ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสียงโรคเรื้อรัง (จำนวน 107 คน) สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
  3. ประชาชนกลุ่มป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนสามารถเป็นบุคลต้นแบบได้ จำนวน 5 คน
  4. ได้สภาผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน กลุ่มคนที่จะร่วมเป็นพลังในการขับเคลื่อนและดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่สมาชิกในชุมชน จำนวน 50 คน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. ประชาชนมีความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันได้ อย่างถูกวิธี
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกวิธี
  3. เกิดบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
  4. เกิดกลไกสภาผู้นำชุมชน
2 เพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจให้คนทุกวัยในชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. เกิดสวนสมุนไพรของหมู่บ้านจำนวน 1 สวน เพื่อเป็นแหล่งเพราะพันธุ์พืชและแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน
  2. เพื่อสร้างพื้นที่ต้นแบบให้เอื้อต่อสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม โดยการเปลี่ยนลานวัดลานกีฬา จำนวน 1 แห่ง
  3. ประชาชนร้อยละ 60 มีการปลูกผักกินเองในครัวเรือนและนำไปแลกเปลี่ยนหรือขายกับเพื่อนบ้านในหมู่บ้าน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. เกิดพื้นที่การเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพ สวนสมุนไพร
  2. ประชาชนทั่วไป ร่วมทำกิจกรรมด้วยกัน สงเสริมการดูแลสุขภาพด้วยหลัก 3 อ 2 ส โดยใช้เยาวชนอาสา ในการดูแลลานวัดลานกีฬา
  3. ประชาชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการพบปะพูดคุยกัน
  4. ประชาชนมีสุขภาพดี รับประทานอาหารที่ปลดสารพิษ มีรายได้เสริมในครอบครัว
3 เพื่อติดตามและสนับสนุนโครงการ

1.รายงานผลการดำเนินงานโครงการ

2.รายงานการเงิน

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.