stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สร้างคลอง สร้างฅน สร้างสุขภาวะชุมชนฅนหนองบัว
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02564
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 ตุลาคม 2014 - 20 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 211,450.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดนหร้อซักฮ์ จันทการักษ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอานัติ หวังกุหลำ
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านหนองบัว ม.5 ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.1663003819032,100.55219650269place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ต.ค. 2014 20 มี.ค. 2015 20 ต.ค. 2014 25 เม.ย. 2015 84,580.00
2 21 มี.ค. 2015 20 ก.ย. 2015 26 เม.ย. 2015 15 พ.ค. 2016 105,725.00
3 21 ก.ย. 2015 20 พ.ย. 2015 21,145.00
รวมงบประมาณ 211,450.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้มีสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็ง โดยทำหน้าที่เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน ติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

เชิงปริมาณ

  1. เกิดสภาผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน ที่ขับเคลื่อนงานชุมชน
  2. ติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

เชิงคุณภาพ

  1. สภาผู้นำชุมชนสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

  2. สภาผู้นำชุมชนสามารถทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วม

2 เพื่อให้เยาวชนและคนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์คลองสายต้นตะเคียน

เชิงปริมาณ

1 เกิดกลุ่มอนุรักษ์คลองสายต้นตะเคียน จำนวน 1 กลุ่ม

2 ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์คลองสายต้นตะเคียน

3 ทรัพยากรในคลองเพิ่มขึ้น ได้แก่ ปลา อย่างน้อย 10,000 ตัว

4 เกิดกติกาชุมชนในการจัดการคลองสายต้นตะเคียน

เชิงคุณภาพ

1 เกิดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการช่วยกันดูแลรักษา อนุรักษ์คลองสายต้นตะเคียนให้สามารถกลับมาใช้ประโยชน์ได้

2 ทรัพยากรธรรมชาติในคลองเพิ่มขึ้น พันธุ์ปลาเพิ่มขึ้น

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมเยาวชนและคนในชุมชนในการจัดการปัญหาขยะ

เชิงปริมาณ

1 เกิดธนาคารความดี (ธนาคารขยะ) 1 แห่ง

2 ครัวเรือนสามารถจัดการปัญหาขยะ ทำให้ขยะในครัวเรือนลดลง อย่างน้อย 20 ครัวเรือน

3 สามารถลดปริมาณขยะ โดยการแปลงขยะเป็นปุ๋ยเพื่อใช้ในการปลูกผักบริโภคในครัวเรือนได้ (*เพิ่มเติม) อย่างน้อยร้อยละ 50 ของครัวเรือนที่มีอยู่ในชุมชน

เชิงคุณภาพ

1 สามารถจัดการปัญหาขยะในชุมชน โดยการทำให้มีการแปลงขยะเป็นทุน

2 ปัญหาขยะลดน้อยลง

3 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานด้านการจัดการขยะของ อบต. ลดลง

4 เพื่อติดตามและสนับสนุนโครงการ

1.รายงานผลการดำเนินงานโครงการ

2.รายงานการเงิน

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.