directions_run

หมู่บ้านจัดการสุขภาวะดี วิถีพอเพียง บ้านทุ่งมะปรัง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ หมู่บ้านจัดการสุขภาวะดี วิถีพอเพียง บ้านทุ่งมะปรัง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02572
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 พฤศจิกายน 2014 - 15 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 207,862.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนันทวัฒน์ เต๊ะสมัน
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางธิดา เหมือนพะวงส์
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ท่ี 1 บ้านทุ่งมะปรัง ต.วังประจัน อ.ควนโดน จ.สตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.7480821649787,100.15366315841place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2014 15 มี.ค. 2015 15 ต.ค. 2014 5 มิ.ย. 2015 83,144.00
2 16 มี.ค. 2015 15 ก.ย. 2015 6 มิ.ย. 2015 31 ธ.ค. 2015 103,931.00
3 16 ก.ย. 2015 15 พ.ย. 2015 20,787.00
รวมงบประมาณ 207,862.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการข้อมูลของชุมชน
  • มีอาสาสมัครในการจัดเก็บระบบฐานข้อมูลชุมชน จำนวน 30 คน
  • ข้อมูลครัวเรือนในชุมชนบ้านทุ่งมะปรัง จำนวน 175 ชุด
  • มีฐานข้อมูลของชุมชน จำนวน 1 ชุด
2 2 เพื่อให้ชุมชนมีศักยภาพในการนำข้อมูลชุมชนมาจัดทำแผนปฏิบัติการ
  • ชุมชนมีการจัดทำแผนโดยการมีสวนร่วมและสามารถนำไปแผนชุมชนสู่การปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้อย่างแท้จริง
3 3 เพื่อให้ชุมชนได้นำแผนปฏิบัติการของชุมชนใการแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อ นำมาแก้ปัญหาได้ตรงกับความต้องการของชุมชนตามแนวคิด สุขภาพดี วิถีพอเพียง
  • ประชาชน ทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ โดยการมี่สวนร่วมของชุมชน ได้ดำเนินกิจกรรมตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การปลูกผักกินเอง ผักปลอดสารพิษ ผักสวนครัวรั้วกินได้ ธนาคารผักพื้นบ้าน เกิดกิจกรรมการออมและชุมชนมีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เกิดเยาวชนนักจัดการสุขภาพ ที่มีการดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ดูแลซึ่งกันและกัน เกิดสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน
4 ติดตามสรุป สนับสนุนจาก สสส สจรส และพี่เลี้ยง
  • มีข้อมูลที่ชัดเจน การบริหารจัดการโครงการ การจัดรายงานการเงิน และการทำรายงานที่ถูกต้อง
  • มีป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์ของ สสส.รณรงค์ในชุมชน
  • เกิดการบริหารการจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพ
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.