directions_run

อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสมุนไพรพื้้นบ้าน : บ้านคลองทราย
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02573
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2014 - 15 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 213,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาว วาสนา สุขมี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาว อารีย์ สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 1 ตำบลคลองทราย อำเภอ นาทวี
ละติจูด-ลองจิจูด 7.0054587870456,100.67350259058place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2014 15 มี.ค. 2015 15 ต.ค. 2014 23 มี.ค. 2015 85,200.00
2 16 มี.ค. 2015 15 ส.ค. 2015 28 มี.ค. 2015 15 พ.ย. 2015 106,500.00
3 16 ส.ค. 2015 15 พ.ย. 2015 21,300.00
รวมงบประมาณ 213,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาผู้นำองค์กรและกลุ่มต่างๆในชุมชน ในรูปแบบสภาผู้นำ ในการส่งเสริมและขับเคลื่อนสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนอย่างมีส่วนร่วม

1.1 เกิดสภาผู้นำจำนวน 20 คน ที่มาจากองค์กรต่างๆในชุมชนเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินโครงการอย่างเป็นรูปธรรมและมีส่วนร่วมของคนใยชุมชน

1.2 มีองค์ความรู้ในการพัฒนาชุมชนจากการถอดบทเรียนจำนวน 1 ฉบับ

1.3 มีการประชุมติดตามการดำเนินงานของสภาผู้นำทุกเดือน จำนวน 10 ครั้ง

2 2.เพื่อสำรวจและรวบรวมพืชสมุนไพรในท้องถิ่น เช่น พืชสมุนไพรที่เป็นอาหาร พืชสมุนไพรที่เป็นยาใช้ในการรักษาและบำบัดโรค

2.1 เกิดชุดข้อมูลความรู้ทะเบียนพืชสมุนไพรในท้องถิ่นที่เป็นอาหาร และตำรับพืชสมุนไพรใช้ในการบำบัดรักษาโรคจำนวน 2 ชุด

2.2 มีปราชญ์ชุมชนด้านตำรับยาสมุนไพรอย่างน้อย 4 ตำรับๆละ 3 คน ในการคิดค้น การวิจัยสมุนไพรท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องร่วมกับศูนย์สมุนไพรทักษิณ คณะเภสัชศาสตร์ มอ.

2.3 มีผลิตภัณท์ชุมชนที่ทำจากสมุนไพรในท้องถิ่นจำหน่าย สามารถสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน

3 3.เพื่อให้คนในชุมชนได้ช่วยกันพื้นฟู สืบทอดมรดกภูมิปัญญาด้านสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ ร่วมอนุรักษ์สมุนไพรหายากในท้องถิ่น

3.1 ประชาชนในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้รักสุขภาพจำนวน 80  คน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคและการป้องกัน บำบัดรักษาโรคโดยใช้สมุนไพรเพิ่มมากขึ้น

3.2 ประชาชน 140 คน ในชุมชนได้รับข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารเป็นยาสมุนไพรโดยอยู่บนพื้นฐานงานวิชาการและระบบสาธารณะสุข

3.3 มีศูนย์เรียนรู้พืชสมุนไพรท้องถิ่นจำนวน 1 แห่งในการถ่ายทอดความรู้และการบำบัดโรค

3.4 มีแปลงสมุนไพรที่ปลูกในครัวเรือนและที่ดินสาธารณะจำนวน 7 ไร่และเขตป่าของชุมชนไมาน้อยกว่า 100 ชนิด สำหรับเป็นแหล่งเรียนรู้และสืบทอดภูมิปัญญาด้านสมุนไพรท้องถิ่น

4 การสนับสนุนติดตามโครงการโดยทีม สสส.,สจรส.มอ.

4.1. การเข้าร่วมประชุมติดตามการดำเนินงานจากทีม สสส.,สจรส.มอ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
4.2. การจัดทำรายงานโครงการ (ส.1 ,ส.2 ,ง.1 ,ง.2 ,ส.3)

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.