stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เกษตรพอเพียงตามวิถีมุสลิมบ้านคลองยาง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02583
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 ตุลาคม 2014 - 20 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 122,950.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสัมพันธ์ เกื้อชาติ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ 2 บ้านคลองยาง ต.คลองยาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่
ละติจูด-ลองจิจูด 7.8402547336,99.0956497192place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ต.ค. 2014 20 มี.ค. 2015 20 ต.ค. 2014 20 มี.ค. 2015 49,185.00
2 21 มี.ค. 2015 20 ก.ย. 2015 21 มี.ค. 2015 22 ม.ค. 2016 61,475.00
3 21 ก.ย. 2015 20 ม.ค. 2016 12,290.00
รวมงบประมาณ 122,950.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงด้วยวิถีอิสลามเพื่อพัฒนาสุขภาวะชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. ในชุมชนมีครัวเรือนต้นแบบที่ดำเนินตามเศรษฐกิจพอเพียงตามวิถีอิสลามอย่างน้อย 5 ครัวเรือน
  2. กลุ่มในชุมชนอย่างน้อย 3 กลุ่ม มีการบริหารงานและนำหลักศาสนาอิสลามมาใช้ในการดำเนินงาน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. ในชุมชนมีครัวเรือนต้นแบบที่ดำเนินตามเศรษฐกิจพอเพียงตามวิถีอิสลาม
  2. กลุ่มต่างๆ ในชุมชนใช้หลักศาสนาอิสลามมาใช้ในการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2 เพื่อให้คนในชุมชนมีการจัดการตนเอง ให้เกิดแหล่งอาหารที่ปลอดภัย ปลอดสารพิษ และสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  1. คนในชุมชน จำนวน 50 ครัวเรือน มีการปลูกผักสมุนไพร ผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน
  2. เด็กและเยาวชน จำนวน 50 คน เกิดกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรตามวิถีอิสลามควบคู่กับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  3. มีผักสมุนไพรในชุมชนเพิ่มขึ้น อย่างน้อย 20 ชนิด

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  1. คนในชุมชนบริโภคพืชผักสมุนไพรปลอดสารพิษ
  2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังบริโภคผัก สมุนไพรรักษาโรคเรื้อรังควบคู่กับการรับประทานยาจากโรงพยาบาล
  3. เด็กและเยาวชนมีความตระหนักต่อการดำรงชีวิตตามวิถีอิสลามและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  4. เด็กและเยาวชนมีความรู้และสามารถทำเกษตรด้วยตนเองตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและบทบัญญัติของอิสลาม
3 เพื่อติดตามและสนับสนุนโครงการ
  • รายงานผลการดำเนินงานโครงการฉบับสมบูรณ์
  • รายงานการเงิน
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.