directions_run

เยาวชนบางกล้วยนอกนักจัดการทรัพยากรธรรมชาติบนฐานทรัพยากร 3 วงล้อ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เยาวชนบางกล้วยนอกนักจัดการทรัพยากรธรรมชาติบนฐานทรัพยากร 3 วงล้อ
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-02598
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 ตุลาคม 2014 - 15 พฤศจิกายน 2015
งบประมาณ 189,800.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายดลก้อเส็ม ผดุงชาติ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวกัญนภัส จันทร์ทอง
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านบางกล้วยนอก ต.นาคา อ.สุขสำราญ
ละติจูด-ลองจิจูด 9.7740245658647,98.697910308838place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2014 15 มี.ค. 2015 15 ต.ค. 2014 15 มี.ค. 2015 78,920.00
2 16 มี.ค. 2015 15 ก.ย. 2015 16 มี.ค. 2015 15 ธ.ค. 2015 94,900.00
3 16 ก.ย. 2015 15 ม.ค. 2016 15,980.00
รวมงบประมาณ 189,800.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างสภาผู้นำชุมชนที่เข้มแข็งจากการมีส่วนร่วมของชุมชนและเยาวชนในการทำหน้าที่เป็นกลไกสำคัญในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  • เกิดแกนนำเยาวชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อย่างน้อย จำนวน 20 คน
  • เกิดสภาผู้นำชุมชนที่เยาวชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
  • มีกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนทรัพยากรธรรมชาติให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น อย่างน้อย 5 กิจกรรม

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  • เยาวชนมีจิตสำนึกที่ดีในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน
  • เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนร่วมกับคนในชุมชน
  • ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น
  • สภาผู้นำชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถขับเคลือน ติดตาม ประเมินผลโครงการได้
2 เพื่อศึกษาการฟื้นฟูและการอนุรักษ์ทรัพยากร 3 วงล้อของชุมชนบางกล้วยนอก

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

  • เกิดชุดความรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 3 วงล้อ
  • เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการทรัพยากรระหว่างเยาวชนและแกนนำในการทำงาน

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

  • เยาวชนและชุมชนมีความรู้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึ้น
  • เยาวชนสามารถบริหารจัดการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนแบบพึ่งตนเอง
  • ความสัมพันธ์ฺที่ดีระหว่างเยาวชนและคนในชุมชน
3 เพื่อติดตามและสนับสนุนโครงการ
  • รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
  • รายงานการเงิน
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ย. 2014 18:36 น.